Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.กัญญา กำศิริพิมาน-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorกนกวรรณ มังฆะรัตน์en_US
dc.date.accessioned2020-07-25T03:04:56Z-
dc.date.available2020-07-25T03:04:56Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69112-
dc.description.abstractThe objective of independent study is to develop a lesson plan in the topic of the Human Society to promote critical thinking using graphic techniques for secondary school students, Thep Bodin Wittaya School. The population of this research is experts who did assessment of lesson plan including education supervisor of the fourth educational service area, University professors majoring in social studies education, school administrators, eight social studies, religious and cultural affiliation teachers from private schools. The instruments used in the study consisted of four lesson plans, eight hours in the topic the human society to promote critical thinking using graphic techniques for secondary school students at Thep Bodin Wittaya School and assessment form of lesson plans. Data were analyzed by using mean and standard deviation. The results are as follow. 1. Four lesson plans about human society to promote critical thinking using graphic techniques for secondary school students, Thep Bodin Wittaya Chiang Mai concluding; Lesson Plan 1 topic: the integration into society by using graphic techniques (Venn diagrams) for 2 hours, Lesson Plan 2 topic: social structure by using the techniques of fiction (Concept mapping) for 2 hours, Lesson Plan 3 topic: Thailand social aspect of social change by using technical graphics (Fishbone Map) for 2 hours, and Lesson Plan 3 topic: Thailand social problems and solutions in order to improve society by using graphic techniques (Matrix Diagram) for 2 hours. 2. The lesson evaluation in the topic of human society for enhancing the critical thinking by graphic for students in Mattayom Thepbodin Wittaya School Chiang mai; the evaluations are lesson 1) social group collection by using Venn diagrams, the learning standard is at very appropriate level in every standards and the whole learning standard is also at very appropriate level (x=2.79), lesson 2) social structure by using concept mapping the learning standard is at very appropriate level in every standards and the whole learning standard is also at very appropriate level (x=2.77), lesson 3) Thai society characteristics and social change by using Fishbone map, the learning standard is at very appropriate level in every standards and the whole learning standard is also at very appropriate level (x=2.77) and lesson 4) Thai social problems and suggestions to social development by using matrix diagram, the learning standard is at very appropriate level in every standards and the whole learning standard is also at very appropriate level (x=2.75). It can be said that the lesson one to four are at the very appropriate level (x= 2.77).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแผนการเรียนรู้ เรื่องสังคมมนุษย์ เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคกราฟิก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeLeaning Plans Development on Human Society Using Graphic Technique to Promote Analytical Thinking for Mathayom Suksa Students, Chiangmai Thepbodent Schoolen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาแผนการเรียนรู้ เรื่องสังคมมนุษย์ เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคกราฟิกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเชียงใหม่ ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินความสอดคล้องของแผนการเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสมของแผนการเรียนรู้และได้แก่ ศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต4 อาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาการศึกษา วิชาเอกสังคมศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังกัดโรงเรียนเอกชน จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แผนการเรียนรู้ เรื่องสังคมมนุษย์ เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคกราฟิกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเชียงใหม่ จำนวน 4 แผน จำนวน 8 ชั่วโมง และแบบประเมินแผนการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลกาศึกษาคือ 1.ได้แผนการเรียนรู้เรื่องสังคมมนุษย์ เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคกราฟิกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเชียงใหม่จำนวน 4 แผน ได้แก่ แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การรวมตัวกันเป็นสังคม โดยใช้เทคนิคกราฟิก (Venn diagrams) จำนวน 2 ชั่วโมงแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม โดยใช้เทคนิคการฟิก (Concept mapping) จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ลักษณะทางสังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยใช้ เทคนิคกราฟิก(Fishbone Map) จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องปัญหาของสังคมไทยและแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อไปสู่การพัฒนาสังคม โดยใช้เทคนิคกราฟิก (Matrix Diagram) จำนวน 2 ชั่วโมง 2. การประเมินแผนการเรียนรู้แผนการเรียนรู้เรื่องสังคมมนุษย์ เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคกราฟิกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเชียงใหม่ ผลการประเมินมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง การรวมตัวกันเป็นสังคม โดยใช้เทคนิคกราฟิก (Venn diagrams ) มีมาตรฐานการเรียนรู้ในระดับเหมาะสมมากทุกมาตรฐาน และมีระดับมาตรฐานของแผนการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก ( =2.79)แผนการเรียนรู้เรื่อง ที่ 2 เรื่องโครงสร้างสังคมโดยใช้เทคนิคการฟิก (Concept mapping) มีมาตรฐานการเรียนรู้ในระดับเหมาะสมมากทุกมาตรฐาน และมีระดับมาตรฐานของแผนการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก ( =2.77)เช่นกัน แผนการเรียนรู้ที่3 เรื่อง ลักษณะทางสังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยใช้เทคนิคกราฟิก (Fishbone Map) มีมาตรฐานการเรียนรู้ในระดับเหมาะสมมากทุกมาตรฐาน และมีระดับมาตรฐานของแผนการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก ( =2.77) เช่นกัน แผนการเรียนรู้ที่4 เรื่อง ปัญหาของสังคมไทยและแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อไปสู่การพัฒนาสังคม โดยใช้เทคนิคกราฟิก (Matrix Diagram) มีมาตรฐานการเรียนรู้ในระดับเหมาะสมมากทุกมาตรฐาน และมีระดับมาตรฐานของแผนการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก( =2.75) เช่นกัน แสดงให้เห็นว่า ผลการประเมินแผนการเรียนรู้ที่ 1-4 ผลการประเมินการเรียนรู้โดยรวมทุกแผนการเรียนรู้ มีความเหมาะสมมาก ( =2.77)en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.