Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorอรรณพ พงษ์วาท-
dc.contributor.authorเพิก พงษ์ไทยen_US
dc.date.accessioned2020-07-24T03:11:39Z-
dc.date.available2020-07-24T03:11:39Z-
dc.date.issued2014-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69079-
dc.description.abstractThis independent study was set out to examine, analyze and synthesize key ideas and principles as well as developments of educational service area administration during the 1999-2011 period beginning with the unified administration of primary and secondary education in late 2002 and ending with the withdrawal of secondary education administration in mid-2010 from the educational service area office. The study was primarily of a documentary analysis nature relying on historical and contemporary data with special emphasis on the withdrawal issue and related events. The overall rationale of the withdrawal campaigns undertaken by secondary school administrators, it was discovered, revolved around the issues of incompatibility in virtually every dimension of these two levels of basic education existing together under the same administrative roof. Moreover, they claimed that the quality of secondary education had continuously deteriorated. Hence, the need to get out of the primary education personnel-dominated house. In mid-2010, the secession campaigns succeeded with the establishment of ๑๔๒ secondary education service area offices around the country. That was followed by a series of such accompanying demands as administrative structures of the new offices, selection and appointment of administrators for the new offices, etc. However, almost totally absent from post-secession discussions is the issue of declining quality used as the major reason for the withdrawal.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการบริหารเขตen_US
dc.subjectการศึกษาen_US
dc.titleแนวคิดและพัฒนาการการบริหารเขตพื้นที่การศึกษา ในช่วง พ.ศ.2542 - 2554en_US
dc.title.alternativeConcepts and development of educational service area administration during B.E. 2542-2554en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.2-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา-
thailis.manuscript.callnumberว 371.2 พ61น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้ มุ่งสำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิด หลักการและพัฒนาการของการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษาในช่วงปี พ.ศ.2542 – 2554 ตั้งแต่การรวม การบริหารจัดการการประถมศึกษาและการมัธยมศึกษาเข้าด้วยกัน ณ เขตพื้นที่การศึกษา เมื่อปลายปี พ.ศ.2545 จนกระทั่ง การแยกตัวออกจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาของการมัธยมศึกษา เมื่อราวกลางปี พ.ศ.2553 โดยอาศัยข้อมูลทั้งเชิงประวัติศาสตร์และร่วมสมัยจากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะที่เน้นปรากฏการณ์การแยกตัวของชาวมัธยมศึกษาที่เริ่มตั้งแต่ต้นปี พ.ศ.2550 เป็นต้นมา เหตุผลโดยรวมของการเรียกร้อง เป็นเรื่องของความไปด้วยกันไม่ได้ในทุกมิติของการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งสองระดับนี้ การบริหารจัดการที่ต้องแตกต่างกัน ตลอดจนคุณภาพการมัธยมศึกษาที่อ้างกันว่าตกต่ำลงเรื่อยๆ ตราบใดที่ยังบริหารจัดการรวมกัน ณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเดิม การเรียกร้องประสบความสำเร็จในที่สุด เมื่อมีการจัดตั้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 42 แห่งทั่วประเทศ ตามมาด้วยการเรียกร้องด้านอื่นๆ อีก เช่น โครงสร้างการบริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใหม่ การได้มาซึ่งตำแหน่งผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ฯลฯ โดยเกือบจะไม่มีการพูดถึงประเด็นที่ว่าด้วยคุณภาพการศึกษาระดับมัธยมศึกษาเหมือนก่อนหน้านั้นอีกเลยen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.