Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิติพงษ์ ยอดมงคล-
dc.contributor.authorศิริพัสตร์ ถาอ้ายen_US
dc.date.accessioned2020-07-24T01:21:53Z-
dc.date.available2020-07-24T01:21:53Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69074-
dc.description.abstractThis independent study of knowledge management aims to improve the process of obtaining an academic position for academic staff in College of Arts, Media and Technology. Objectives of the study are to i) analyze the problem of obtaining an academic position; ii) identify the knowledge needed to obtain an academic position; and iii) develop knowledge map (KMAP) for a given academic positions. The research tool in the study is knowledge engineering which is used to check your knowledge by studying, collecting information from the document and interviewing 3 experts with experience in applying technical position, and conducted an analysis of knowledge. Then, knowledge of experts will be analyzed and developed in the form of the knowledge map (KMAP). The study found that asking for the academic positions consists of three elements which are i) planning on applying for an academic position; ii) determine steps in asking for academic positions; and iii) the procedure of applying for an academic position. The applicant's academic documents should be prepared before applying for academic position. To build academic staff with the qualifications to apply for the position, the qualifications of the applicant should be checked. Also teaching plan, research publication and academic service to community all need to be consistent with the disciplines to apply for an academic position. To produce academic then be used to get an academic position, the applicant's academic placement guidelines should be based on personal history and academic performance. The main approach is that the applicant has requested to prepare their papers according to the needs of academic evaluation. And the time frame to build academic performance is also important in the creation of the conference to ensure efficiency and quality of the applicant's academic placement should be planned and set the time to produce academic course work. The reason is because the academic performance of each type requires a different amount of time.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการขอตำแหน่งทางวิชาการ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeKnowledge Management to Improve the Process of Obtaining an Academic Position, College of Arts, Media and Technology, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่องการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการขอตำแหน่งทางวิชาการ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ เพื่อระบุองค์ความรู้ที่จำเป็นในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ และเพื่อพัฒนาแผนที่ความรู้ (KMAP) ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ผู้วิจัยใช้กระบวนการวิศวกรรมความรู้ (Knowledge Engineering) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอนการตรวจสอบความรู้ (Knowledge Audit) โดยการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ข้อบังคับ และการสำรวจปัญหาและอุปสรรค์ของอาจารย์ที่มีคุณสมบัติในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 11 คน และได้นำผลสำรวจข้อมูลทั้งหมดมาตั้งเป็นกรอบคำถามเพื่อจับความรู้ (Knowledge Capture) โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 3 ท่าน และดำเนินการวิเคราะห์ความรู้ (Knowledge Analysis) สังเคราะห์ความรู้เป็น ความรู้ระดับงาน (Task Level) ความรู้ระดับคิด (Inference Level) และความรู้ระดับปัญหา (Domain Level) และให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบความรู้เกี่ยวกับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการเพื่อพัฒนาในรูปของแผนที่ความรู้ KMAP จากการศึกษาพบว่า การขอกำหนตำแหน่งทางวิชาการ มีองค์ประกอบหลักสำคัญคือ การวางแผนในการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ และการกำหนดขั้นตอนและกระบวนการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ซึ่งผู้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการควรเตรียมความพร้อมของตนเองก่อนการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ และตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขอ ควรมีการตรวจสอบผลงานทางวิชาการที่ใช้ประกอบการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ซึ่งผลการศึกษาพบว่าการบูรณาการพันธกิจหลักของอาจารย์สายวิชาการ ได้แก่ การสอน การวิจัย และการบริการวิชาการแก่สังคมต้องให้มีความ สอดคล้องกับสาขาวิชาที่จะยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ เพื่อกำหนดแนวทางในการสร้างผลงานทางวิชาการได้ง่ายและตรงตามคุณวุฒิที่จะยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการในสาขาที่จะยื่นขอ ที่จะต้องผลิตผลงานทางวิชาการแล้วใช้ประกอบการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ และผู้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการควรยึดแนวทางในแบบ ก.พ.อ.03 เป็นแนวทางหลักในการรวบรวมผลงานทางวิชาการ โดยผู้ยื่นขอสามารถเตรียมความพร้อมของผลงานทางวิชาการได้ตามความต้องการของการประเมินผลงานทางวิชาการ และการกำหนดกรอบเวลาในการสร้างผลงานทางวิชาการยังมีความสำคัญในการสร้างผลงานทางวิชาการให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพโดยผู้ยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการควรมีการวางแผนและกำหนดช่วงเวลาในการผลิตผลงานทางวิชาการให้แน่นอน เนื่องจากการสร้างผลงานทางวิชาการแต่ละประเภทต้องใช้ระยะเวลาที่แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf12.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.