Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69047
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.พนม กุณาวงค์ | - |
dc.contributor.author | ธีรธร แดงเรือง | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-23T06:09:23Z | - |
dc.date.available | 2020-07-23T06:09:23Z | - |
dc.date.issued | 2015-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69047 | - |
dc.description.abstract | The independent study on the Development of the Military Forces Information System of the 7th Infantry Division aims to 1) study methods to develop the military forces information system of the 7th Infantry Division based on the e-Battalion program, 2) study results of the development of the military forces information system of the 7th Infantry Division after implementing according to the e-Battalion program, and 3) study the problems and obstacles of the development of the military forces information system of the 7th Infantry Division based on the e-Battalion program. Information was gathered from public administration policies, observation of e-Battalion information system usage, and an in-depth of interview of 10 executives, authorities, and officers directly involved with the e-Battalion information system. Results of the independent study are summarized in the following paragraph. The e-Battalion program was developed by the Royal Thai Army to connect the military forces information system of the 7th Infantry Division to that of the Royal Thai Army. The system organized the military information as an input, process, output, and feedback. The information system was found to be practical, effective, and accurate–capable of supporting the decision-making process of commanders and executives. The e-Battalion program also facilitates effective information system connectivity between the 7th Infantry Division and the Royal Thai Army. Results of the development of the military forces information system of the 7th Infantry Division were tech-savvy, convenient, and accurate in terms of data input. Data processing, however, is not yet complete. The system was reliable, swift, punctual, easily accessible, and secure with Username and Password requirements. Factors that may hinder the implementation process include commander policies, information system improvement budgets (e.g. software and hardware development), and information systems for communication support (e.g. internet). These factors will be improved to facilitate sustainable and continuous information system development. Obstacles for information system development stemmed from lack of attention from personnel at various levels of authority (from directly responsible personnel to commanders) and the lack of personnel who are experienced with the e-Battalion program. Unorganized information storage also led to incomplete data input into the e-Battalion program. Responsible personnel were also frequently switched, leading to lack of continuity in information system management. Software and information system connectivity issues stemmed from internet failures and outdated computers. Data used in the input phase of the system, such as basic military personnel information (rank, name, last name, position, expertise, salary), were processed slowly, leading to incomplete and ineffective output on the Royal Thai Army central database. This required continuous and sustainable development of the feedback system phase for effectiveness. It is recommended that executives should support and closely manage the information system, both in terms of providing financial support for technological development and supporting training and education sessions for responsible personnel to improve their competencies. The management information system of the 7th Infantry Division should also be synchronized into the same system for network sharing, increasing the effectiveness of the decision-making process and boosting employee morale. Responsible personnel must improve and test the performance of the application towards the MIS, E-Battalion, and PDX systems for operating in the central database. Security standard testing must also be strictly and continuously conducted according to regulations. Personnel must start the application of the 7th Infantry Division in a unified, streamlined manner to reduce complexities and confusion, leading to sustainable improvement of the MIS in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านกำลังพล กองพลทหารราบที่ 7 | en_US |
dc.title.alternative | Development of the Military Forces Information System of the 7th Infantry Division | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านกำลังพล กองพลทหารราบที่ 7 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านกำลังพลของ กองพลทหารราบที่ 7 ตามโปรแกรม e-Battalion 7 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาระบบสารสนเทศกำลังพลของกองพลทหารราบที่ 7 ที่ได้มีการพัฒนาตาม โปรแกรม e-Battalion 3) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาระบบสารสนเทศกำลังพล ตามโปรแกรม e-Battalion ของกองพลทหารราบที่ 7 โดยการศึกษาข้อมูลจาก ระเบียบต่างของทางราชการ สังเกตการมีส่วนร่วมการใช้ระบบสารสนเทศ e–Battalion และการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบ และเจ้าหน้าที่ที่ทำงานเกี่ยวกับระบบโดยตรง จำนวน 10 คน ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี้ โปรแกรม e-Battalion เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่กองทัพบกได้จัดทำขึ้นเพื่อนำมาพัฒนาระบบสารสนเทศด้านกำลังพล โดยพัฒนาระบบฐานข้อมูลกำลังพล กองพลทหารรายที่ 7 ให้สามารถเชื่อมโยงกับกองทัพบกได้ วิธีการดำเนินการดังกล่าว โดยการนำข้อมูลประวัติกำลังพลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Process) ผลการดำเนินการ(Output) และการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล (Feedback) ผลของการ ดำเนินการดังกล่าว สามารถ ใช้งานได้จริง มีประสิทธิภาพ ตอบสนองตรงตามผู้ใช้งาน และประกอบการตัดสินใจของผู้บังคับบัญชา หรือผู้บริหารได้เป็นอย่างดี เป็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกำลังพลของกองพลทหารราบที่ 7 สามารถเชื่อมโยงกับกองทัพบกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านกำลังพลของกองพลทหารราบที่ 7 เป็นระบบที่ทันสมัย สะดวก มีการนำเข้าข้อมูลได้ ถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือสามารถนำมาใช้ได้รวดเร็ว ทันต่อเวลา ความสะดวกในการเข้าถึง และมีความปลอดภัย โดยระบบ Username และ password แต่ยังขาดการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทำให้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น นโยบายของผู้บังคับบัญชา งบประมาณการ ปรับปรุงอุปกรณ์ สารสนเทศ เช่น ซอร์ฟแวร์ (Software) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และสารสนเทศการสื่อสาร อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ซึ่งจะมีการพัฒนาไป เพื่อเป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ด้านปัญหาอุปสรรค ของการพัฒนา พบว่า นโยบาย ในการนำระบบสารสนเทศด้านกำลังพล e-Battalion มาใช้นั้น หน่วยงานยังขาดความเอาใจใส่ดูแล จากบุคลากร ตั้งแต่ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนผู้บังคับบัญชา และขาดบุคลากรผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรม e-Battalion เนื่องจากข้อมูลด้านกำลังพลมีความสำคัญต่อหารบริหารงานด้านกำลังพล ข้อมูลไม่ได้จัดเก็บอย่างเป็นระบบ เมื่อนำข้อมูลมาป้อนสู่ระบบโปรแกรม e-Battalion แล้วจึงทำให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน ส่วนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ มีการสับเปลี่ยนบ่อย จึงทำให้การดำเนินการกับโปรแกรมดังกล่าว ยังขาดการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ส่วนปัญหาด้าน ซอร์ฟแวร์ รวมทั้งการเชื่อมต่อกับหน่วยงานส่วนกลางยังไม่สามารถพัฒนาการเชื่อมต่อให้เกิดประสิทธิภาพ ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังขาดประสิทธิภาพในการใช้งาน เช่น อินเตอร์เน็ตล่มบ่อย สำหรับด้าน ฮาร์ดแวร์ ยังเป็นคอมพิวเตอร์ที่เก่า สเปคต่ำ ทำให้การนำข้อมูลเข้าประวัติกำลังพล (Input) ประกอบด้วย ยศ ชื่อ สกุล ตำแหน่ง ความชำนาญการในตำแหน่งหน้าที่ราชการ อัตราเงินเดือน ฯลฯ เป็นต้น ส่งผลให้ การประมวลผลออกมา (Process)ช้า ทำให้ผลการดำเนินการที่ได้รับ (Output) ไม่สมบูรณ์ครบถ้วนตามโปรแกรมที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ บนฐานข้อมูลกลางของกองทัพบก จึงส่งผลที่จะต้องมีการปรับปรุงแก้ไข (Feedback) ให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารควรสนับสนุน กำกับดูแล ทั้งงบประมาณด้านเทคโนโลยี ส่งเสริม ให้บุคลากรที่รับผิดชอบ ได้เข้ารับการฝึกอบรมหรือศึกษาค้นคว้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นและควรกำหนดให้มีการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (MIS) กองพลทหารราบที่ 7 ให้เป็นระบบเดียวกัน สามารถใช้เป็นเครือข่ายร่วมกันได้ เพื่อประกอบการตัดสินใจ ยังเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้รับผิดชอบงานด้านสารสนเทศอีกด้วย เพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศของกองทัพบกอย่างยั่งยืน สำหรับผู้รับผิดชอบต้องการมีพัฒนาและทดสอบการใช้งานของซอร์ฟแวร์ที่ช่วยการทำงาน (Application) ต่อระบบ MIS ระบบ e – Battalion และระบบ PDX ที่จะเข้าใช้งานในระบบฐานข้อมูลกลาง รวมถึงการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัย ตาม พ.ร.บ. อย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และ เจ้าหน้าที่ ต้องริเริ่มทำการใช้งาน Application ของหน่วยในกองพลทหารราบที่ 7 และ หน่วยขึ้นตรง ให้มีความเป็นเอกภาพ เพื่อลดความหลากหลาย ความซ้ำซ้อน และความสับสน โดยการปรับปรุงพัฒนาซอร์ฟแวร์ที่ช่วยการทำงาน(Application)ไปสู่ การพัฒนาระบบ MIS เพื่อมาตรฐานในอนาคตต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.