Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดร.อัครพล นิมมลรัตน์-
dc.contributor.authorสัจจภรณ์ ลำพูนพงศ์en_US
dc.date.accessioned2020-07-23T06:08:25Z-
dc.date.available2020-07-23T06:08:25Z-
dc.date.issued2015-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69038-
dc.description.abstractThis study developed a model to prevent children from dropping out. In joint participation with the Nakien School, Omkoi District, Chiang Mai Province. With integrating the principles of knowledge engineering and participation aims to analyze the problem of children dropping out of school at the Nakien School, Omkoi District, Chiang Mai Province. And to develop a model to prevent children from dropping out. This is a Qualitative Research that utilizes secondary data from documents, interviews, and group chat. The population consists of 1) teachers and educational personnel in the Nakien School 2) families and communities 3) government agencies that are involved in the area. The work applies the principles of engineering knowledge and participation as the instrument for analysis. The results indicate that poverty and lack of basics are the main cause of woe, which lead to a deteriorating effect when famine is experienced. Such a dire situation becomes an obstacle for school children who want to finish their studies. Another form of hardship is not being able to solve family problems and having no parental support. Some children are forced to help their parents at home. Without a proper supporting structure for schooling the children become helpless in completing their studies at school. The results found that approaches to prevent problems. The children who are at the risk of dropping out of school can sustain their learning ability by using a participatory process with the relevant government departments as a form of supervision. This way, the participation of students and families in the community can become more realistic. The development of this work comes in the form of a “collaboration framework ”. Can allow anyone to realize their own role in participating Participation on a Prevention of children drop out of school problem completely.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้อย่างมีส่วนร่วมเพื่อ ป้องกันปัญหาเด็กออกกลางคันของโรงเรียนบ้านนาเกียนอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Development of a Participatory Knowledge Management Approach for Preventing Children from Dropping out of the Nakien School, Omkoi District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการพัฒนารูปแบบการป้องกันปัญหาเด็กออกกลางคัน ของโรงเรียนบ้านนาเกียน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ด้วยการบูรณาการหลักการวิศวกรรมความรู้และการมีส่วนร่วมมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัญหาเด็กออกกลางคันของโรงเรียนบ้านนาเกียน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และการพัฒนารูปแบบการป้องกันปัญหาเด็กออกกลางคันแบบการมีส่วนร่วม การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยอาศัยการบูรณาการหลักการทางวิศวกรรมความรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมในการศึกษาข้อมูลระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิโดยการสังเคราะห์ความรู้จากเอกสารตำราที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เพื่อถอดความรู้ผู้เชี่ยวชาญและการสนทนากลุ่มโดยกลุ่มประชากรประกอบด้วย 1) ครูและบุคลากรทางการศึกษาเขตการศึกษาที่ 5 และครูโรงเรียนบ้านนาเกียน และ 2) ครอบครัว ชุมชน และ 3) หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของเด็กออกกลางคันเกิดจากความยากจนและลักษณะของพื้นซึ่งอยู่ห่างไกลและทุระกันดาร ทำให้เป็นอุปสรรคในการเดินทางไปเรียนหนังสือของเด็ก นอกจากนี้ปัญหาครอบครัวที่เด็กนักเรียนไม่มีบิดา มารดาดูแลเอาใจใส่ หรือบางคนต้องช่วยงานพ่อแม่ที่บ้าน ทำให้ขาดความสม่ำเสมอในการมาเรียนและขาดเรียนไปในที่สุด จากการศึกษาพบว่าแนวทางการป้องกันปัญหาเด็กออกกลางคันสามารถบูรณาการอย่างยั่งยืน โดยการใช้กระบวนการมีส่วนร่วม (Collaboration Framework) ระหว่างภาครัฐที่เกี่ยวข้องในการกำกับดูแล และการมีส่วนร่วมในระดับชุมชน และครอบครัวของนักเรียนตลอดจนบุคลากรทางการศึกษา การสร้างความเข้าใจและการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสัมพันธ์กัน รวมทั้งช่วยให้ทุกคนตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาเด็กออกกลางคันได้อย่างสมบูรณ์en_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.