Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ชาติชาย ดวงสอาด-
dc.contributor.authorกนกวรรณ มาลังค์en_US
dc.date.accessioned2020-07-23T06:08:07Z-
dc.date.available2020-07-23T06:08:07Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69035-
dc.description.abstractThis independent study presents the Academic Advisory Support System Using Google App Engine (AASS). The purposes of this study is to develop the academic advising system in a form of web application using Google App Engine platform, Gmail and Google Calendar which can facilitate the software development process based on cloud computing architecture. Another purpose is to improve the academic advising process in College of Arts, Media and Technology, Chiang Mai University through the effective outcomes. Therefore, the developed system can be applied as a tool or a channel for exchanging all useful information among students, lecturers, and other academic staff. The development of AASS consists of 5 major components; Membership Directory, Office Hours, Appointment and Email Alert, Academic Advising, and Summary and Reporting. The AASS implementation process relied on the Iterative and Incremental model in which the whole system are divided into five phases based on five major components. At each phase, SDLC operations (requirement, design, develop, test and review) are executed. Moreover, the development of AASS has followed the software standard and guidelines for very small entities (ISO/IEC 29110) in order to ensure the perfective software development process, and improve software product's quality. The results from evaluating user’s satisfaction in the real system environment found that it was good on average. Most of the users were satisfied with the system because AASS provides more flexible to access to the advising process and all related data over the Internet without any locations and time-of-use restrictions. In management dimension, educational institute can analyze academic advising data for making decisions. Using AASS can reduce growing expenses for intensive-labor service and overhead costs. In software development dimension, the utilization of Google Cloud Platform in combining with Google Application can reduce the complexity during the development process. With these tools, data storage and maintenance resources are not necessary to be concerned. Therefore, software development team members can get more convenience for developing software application to satisfy the user requests.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleระบบสนับสนุนการให้คำปรึกษาวิชาการโดยใช้กูเกิลแอพเอนจินen_US
dc.title.alternativeAcademic Advisory Support System Using Google App Engineen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระ เรื่อง ระบบสนับสนุนการให้คำปรึกษาวิชาการโดยใช้กูเกิลแอพเอนจิน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการให้คำปรึกษาในรูปแบบเว็บแอพพลิเคชันที่ทำงานบนสถาปัตยกรรมแบบกลุ่มเมฆ โดยประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มการพัฒนาจากกูเกิลแอพเอนจิน จีเมล์ ปฏิทินและฐานกูเกิลเป็นเครื่องมือช่วยพัฒนา เพื่อให้ระบบฯ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และบุคลากรภายในหน่วยงานได้ รวมถึงเพื่อปรับปรุงกระบวนการให้คำปรึกษาวิชาการสำหรับวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบสนับสนุนการให้คำปรึกษาวิชาการโดยใช้กูเกิลแอพเอนจิน ประกอบด้วย 5 ระบบงาน ได้แก่ ส่วนจัดการฐานข้อมูลอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษา ส่วนจัดการตารางชั่วโมงทำงาน ส่วนจัดการตารางนัดหมายและการแจ้งเตือนผ่านอีเมล์ ส่วนการให้คำปรึกษาวิชาการ และส่วนสรุปผลการให้คำปรึกษาและออกรายงาน โดยระบบงานทั้ง 5 ถูกพัฒนาขึ้นโดยอาศัยโมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบทวนซ้ำและแบบก้าวหน้า ที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา ทดสอบ และทวนสอบจากผู้เกี่ยวข้องในแต่ละระยะการพัฒนา ร่วมกับการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐาน ISO29110 เพื่อปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีคุณภาพตามหลักวิศวกรรม จากผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบสนับสนุนการให้คำปรึกษาวิชาการโดยใช้กูเกิลแอพเอนจินในสภาพแวดล้อมการทำงานจริง พบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดี ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความพอใจต่อระบบฯ ที่สามารถทำงานได้อย่างสอดคล้องกับลักษณะการทำงานของคนในยุคปัจจุบัน ระบบฯ ช่วยอำนวยความสะดวกในการให้คำปรึกษา และการเข้าถึงข้อมูลโดยไม่มีข้อจำกัดด้านสถานที่ และเวลาในการใช้งาน ทั้งนี้ในเชิงของการบริหารการศึกษา หน่วยการศึกษาสามารถใช้ระบบเป็นเครื่องมือช่วยจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลการให้คำปรึกษาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร ระบบฯช่วยลดต้นทุนด้านบุคลากร ลดพื้นที่และทรัพยากรที่ใช้ในการจัดเก็บเอกสาร และในมุมมองของนักพัฒนา การประยุกต์ใช้บริการจากกูเกิล ช่วยลดความซับซ้อน และระยะเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยผู้เกี่ยวข้องในโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ไม่ต้องกังวลเรื่องปริมาณการจัดเก็บข้อมูล และทรัพยากรในการบำรุงรักษาระบบฯen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf18.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.