Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69030
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กัญญา กำศิริพิมาน | - |
dc.contributor.advisor | ชรินทร์ มั่งคั่ง | - |
dc.contributor.author | ขวัญดาว วาฤทธิ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-22T08:44:08Z | - |
dc.date.available | 2020-07-22T08:44:08Z | - |
dc.date.issued | 2015-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69030 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were to study the Co-curriculum Activities Provision for Environment and Natural Resources Conservation Using Participatory Assessment for Students Banthirdthai School, Chiang Rai Province and to evaluate the Co-curriculum Activities Provision for Environment and Natural Resources Conservation. The sample was 30 volunteered students and stakeholders. The data collecting instruments were activity plans, behavioral evaluation forms, satisfied evaluation forms and focus group. The data obtained were analyzed by using frequency, percentage and mean. The findings were as follows: The Co-curriculum Activities Provision for Environment and Natural Resources Conservation Using Participatory Assessment for Students Banthirdthai School, Chiang Rai Province was created in pattern of Realization and Environment Conservation Camping. This was divided into 4 plans; realized plan, inspired plan, practiced plan and participated plan. The conformity assessment of activities plan is consistent with the objectives of the study. Can be used for events. The result of the students’ behavioral evaluation of the environment and natural resources conservation based on 7R concept which was Reduce, Reuse, Recycle, Reject, Repair, Return and Rethink was averaged at a high level. When considered in each aspect, it appeared that the students’ behavior of the environment and natural resources conservation based on 7R was averaged at a high level in all aspect. Reduce was averaged at the highest level. The result of the students’ satisfied evaluation of the environment and natural resources conservation showed as follow: the sample was female more than male and most of them were Tai Yai, Lah-Hoo and Chinese respectively. The stakeholders’ satisfaction of the provision of the extra activity curriculum of the nature and environment conservation in term of procedure was averaged at the high level. When considered in each aspect, it appeared that the learning sources in the villages which could be seen the authentic nature and environment were averaged at the highest level. The stakeholders’ satisfaction of The Co-curriculum Activities Provision for Environment and Natural Resources Conservation in term of outcome was averaged at the high level. When considered in each aspect, it appeared that the guideline of The Co-curriculum Activities Provision for Environment and Natural Resources Conservation was broadcasted by the senior to the junior which was averaged the high level. | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ | en_US |
dc.subject | โรงเรียนบ้านเทอดไทย | en_US |
dc.subject | การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร | en_US |
dc.title | การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้การประเมินแบบมีส่วนร่วม สำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเทอดไทย จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | Co-curriculum activities provision for environment and natural resources conservation using participatory assessment for students, Banthirdthai School, Chiang Rai province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 333.72 | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนบ้านเทอดไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียน -- เชียงราย | - |
thailis.controlvocab.thash | การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ | - |
thailis.controlvocab.thash | การอนุรักษ์ธรรมชาติ | - |
thailis.controlvocab.thash | กิจกรรมเสริมหลักสูตร | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 333.72 ข1711ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1.สร้างกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเทอดไทย จังหวัดเชียงราย 2. เพื่อประเมินการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้การประเมินแบบมีส่วนร่วมสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเทอดไทย จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนอาสาสมัครและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แผนกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แบบประเมินพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของนักเรียน แบบประเมินความพึงพอใจการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดย การวิเคราะห์ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า การสร้างแผนกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเทอดไทย จังหวัดเชียงราย ในรูปแบบ “ค่ายสร้างความตระหนัก พิทักษ์สิ่งแวดล้อม” จำนวน 4 แผนคือ แผนสร้างความตระหนัก จักให้ความรู้ แผนกิจกรรมเชิดชูแรงบันดาลใจ แผนกิจกรรมใฝ่ฝึกฝนทักษะ และแผนกิจกรรมไม่ลดละการมีส่วนร่วม แผนกิจกรรมมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมได้ ผลการประเมินความสอดคล้องของแผนกิจกรรมมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมได้ ผลการประเมินพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยแนวคิด 7R Reduce , Reuse, Recycle, Reject, Repair, Return และRethink ของนักเรียน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน นักเรียนมีพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยแนวคิด 7R อยู่ในระดับมาก ทุกรายการ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้าน Reduce ลดการใช้ ผลการประเมินความพึงพอใจการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเทอดไทย จังหวัดเชียงรายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า เป็นเพศหญิง มากกว่า เพศชาย เป็นชาติพันธุ์ไทยใหญ่ มากที่สุด รองลงมาคือลาหู่ และจีนฮ่อ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านกระบวนการอยู่ในระดับมาก รายการที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุดคือ แหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ทำให้เห็นสภาพจริงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนมีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับมากที่สุด ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้านผลผลิต อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การเผยแพร่แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯ จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง อยู่ในระดับมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 5.88 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.