Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69025
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจารุณี มณีกุล-
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorวรลักษณ์ คำทองen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T07:09:31Z-
dc.date.available2020-07-22T07:09:31Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69025-
dc.description.abstractThis study aims to develop a series of learning processes to promote critical thinking using community issues for Prathom Suksa Students, Wat Prachakasem School (Namsum-Huaykwang), Chiang Mai Province.This study also aims to assess critical thinking by addressing community issues for students Wat Prachakasem (Nam Sum-Huay Kwang Chiang Mai.The samples in this study are 5 experts evaluating learning packages and they have experience in teaching social studies, religion and culture of the Grade 5 school in Hang Dong, Chiang Mai.The instruments in the study consist of three series of learning that encourage critical thinking and the learning series assessment form. Data were analyzed by standard deviation and content analysis. Data is presented in table form. The study found that learning packages that encourage critical thinking by addressing community issues, including a series of three learning (1) Natural Disasters, Land for Agriculture, (2) Drug Threat, and (3) Uncreative Media. The result is that a series of learning encouraging critical thinking by addressing community issues, with an average of 2.85 is very appropriate. Each issue has an average 2.87, 2.84 and 2.83 respectively. It was concluded that a set of learning that promote the idea and critical community issues using the three series are very reasonable and can be used to manage learning in social studies subjects, religion and culture.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectชุดการเรียนรู้en_US
dc.subjectการคิดเชิงวิพากษ์en_US
dc.subjectนักเรียนen_US
dc.subjectโรงเรียนวัดประชาเกษม (น้ำซุ้ม-ห้วยกว้าง)en_US
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงวิพากษ์ โดยใช้ประเด็นชุมชนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนวัดประชาเกษม (น้ำซุ้ม–ห้วยกว้าง) จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDeveloping learning packages to promote critical thinking using community issues for Prathom Suksa students, Wat Prachakasem School (Nam Sum-Huay Kwang) School, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.33-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนวัดประชาเกษม (น้ำซุ้ม-ห้วยกว้าง)-
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashความคิดและการคิด-
thailis.controlvocab.thashการสอนด้วยอุปกรณ์-
thailis.controlvocab.thashสื่อการสอน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.33 ว177ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการชุดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิด เชิงวิพากษ์โดยใช้ประเด็นชุมชน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนวัดประชาเกษม (น้ำซุ้ม–ห้วยกว้าง) จังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อสร้างแบบประเมินกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์โดยใช้ประเด็นชุมชน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนวัดประชาเกษม (น้ำซุ้ม–ห้วยกว้าง) จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้เชี่ยวชาญประเมินชุดการเรียนรู้ จำนวน 5 คน ซึ่งเป็นครูที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือ ที่ ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยชุดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิพากษ์โดยใช้ประเด็นชุมชน จำนวน 3 เรื่อง และแบบประเมินชุดการเรียนรู้จำนวน 3 เรื่อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา นำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง ประกอบการบรรยาย ผลการศึกษาพบว่าได้ชุดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิพากษ์โดยใช้ประเด็นชุมชน จำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ ชุดการเรียนรู้เรื่องที่ 1 ภัยธรรมชาติจากการบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อการเกษตร ชุดการเรียนรู้เรื่องที่ 2 ภัยร้ายยาเสพติด และชุดการเรียนรู้เรื่องที่ 3 สื่อไม่สร้างสรรค์ มีผลการประเมินชุดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิพากษ์โดยใช้ประเด็นชุมชนที่มีค่าเฉลี่ย 2.85 มีความเหมาะสมมาก โดยแต่ละเรื่องมีค่าเฉลี่ย 2.87,2.84 และ 2.83 ตามลำดับ สรุปได้ว่าชุดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิพากษ์โดยใช้ประเด็นชุมชนทั้ง 3 เรื่องมีความเหมาะสมมาก สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf12.47 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.