Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัญญา กำศิริพิมาน-
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorวชิระ ครินชัยen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T07:06:14Z-
dc.date.available2020-07-22T07:06:14Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69024-
dc.description.abstractThis research study aimed to develop the learning plans integrated critical thinking process toward Sufficiency Economy based for Mathayomsuksa 1 students at The Prince Royal’s College in Chiang Mai province. The populations employed in this study were purposive sampling of five experts to evaluate learning plans including one school administrator and four teachers who teach Social Study, Religion and Culture. The instruments in this study were learning plans integrated critical thinking process toward Sufficiency Economy based for Mathayomsuksa 1 students at The Prince Royal’s College, Chiang Mai. For data analysis, means and standard deviation were employed in this study. The data were also presented in tables and examined by Content Analysis. The results of the study reveal that the researcher found out the process of writing learning plans and the elements of learning plans integrated critical thinking process toward Sufficiency Economy based for Mathayomsuksa 1 students at The Prince Royal’s College in Chiang Mai province. In the learning unit plans were comprised of three learning plans entitled 1) “the concepts of Sufficiency Economy Philosophy” 2) “the work and royal development projects initiated by His Majesty the King” and 3) “the utilization of Sufficiency Economy Philosophy” respectively. Meanwhile, it was also found that the overall correspondence evaluation of learning plans was considered to be “very appreciate” ( =2.90) with learning standards/indicators, learning contents, learning objectives, important contents, strands learning activities integrated critical thinking process and the Philosophy of Sufficiency Economy, materials and learning resources, and methods for measuring and evaluating. In conclusion, these three learning plans could be applied to learning management in classes of Social Study, Religion and Culture.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปรัชญาen_US
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงen_US
dc.subjectโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.titleการพัฒนาแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of learning plans with integrated critical thinking processes with and sufficiency Economy for Mathayom Suksa Students, The Prince Royal's Collegeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc300.71-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashเศรษฐกิจพอเพียง-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 300.71 ว123ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการเรียนรู้ที่บูรณาการกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ คือผู้เชี่ยวชาญที่ประเมินความเหมาะสมของแผนการเรียนรู้ ประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน 1 คน ครูผู้สอนกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมจำนวน 4 คน รวม 5 คนโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแผนการเรียนรู้เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอตารางประกอบความเรียงบรรยาย ผลการศึกษาปรากฏว่าได้กระบวนการและรูปแบบแผนการสอนหน่วยการเรียนรู้ที่ บูรณาการกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน คือ แผนที่ 1 เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แผนที่ 2 เรื่องหลักการ ทรงงานและโครงการตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และแผนที่ 3 เรื่อง การประยุกต์ใช้แนวคิดของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการประเมินความสอดคล้องโดยรวมทุกแผนการจัดการเรียนรู้ มีความเหมาะสมมาก ( =2.90) ทั้งทางด้านมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ที่บูรณาการกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สื่อและแหล่งเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล สรุปได้ว่า แผนการเรียนรู้ทั้ง 3 แผน สามารถนำไปใช้ในการจัด การเรียนรู้ของกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.