Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกสุมภ์ สายจันทร์-
dc.contributor.authorศิรินภา ดาทองen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T04:06:20Z-
dc.date.available2020-07-22T04:06:20Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69016-
dc.description.abstractThis Independent Study aimed to study factors influencing investment decision in Union of Myanmar of Chiang Mai businessmen and investigate problems and obstacles in investing in Union of Myanmar. This qualitative study employed documentary research and interview as research methods and descriptive analysis was used as a data analysis method. The data revealed that there were four factors influencing investment decision in Myanmar of Chiang Mai businessmen. Firstly, a political factor was highly influential and important in investment decision because the political reformed by the government had caused the belief in the stability of the political situations in Myanmar. The second factor was the wage and employment in Myanmar was still cheap which positively affected business and trades along the border. The third factor was the geography of Myanmar which was abundant in natural resources. In addition, many neighboring Chiang Mai provinces, in which the locals shared cultures and lifestyle, positively affected business and trades along the border. The final factor was about trade and investment law in Myanmar. After the economic reform, the law had provided more benefits for international investment. Though Myanmar has been a target country which had high investment potentials and opportunity, there were many problems and obstacles. Firstly, the insufficient and low coverage of infrastructure caused the inconveniences in trades and investment. The second problem was the outdated financial and banking systems. Thirdly, the government did not have definite border trade policies. The fourth problem was drugs along the border. The fifth problem was the language used. Since there were many ethnic groups, there were many languages used in conducting business. Furthermore, there have been corruptions in and overlapping of the government organizations. The seventh problem was the political instability of the government. Therefore, it can be suggested that the government should take an important role in solving trade problems along the border to create trade stability. In addition, the imported product limitation and prohibition measures should be abolished. Complicated and overlapping customs formality should also be decreased. Finally, temporarily permitted point at Ban Lak Taeng, Wianghaeng District should be officially opened.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกองทุนen_US
dc.subjectนักธุรกิจen_US
dc.subjectการตัดสินใจเลือกกองทุนen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนของนักธุรกิจจังหวัดเชียงใหม่กับเมียนมาen_US
dc.title.alternativeFactors influencing investment decision in union of Myanmar of Chiang Mai businessmenen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc332.152-
thailis.controlvocab.thashกองทุนการเงินระหว่างประเทศ-
thailis.controlvocab.thashนักธุรกิจ -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 332.152 ศ373ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนของนักธุรกิจจังหวัดเชียงใหม่กับเมียนมา ตลอดจนเพื่อให้ทราบว่าในการไปลงทุนดังกล่าวของนักธุรกิจจังหวัดเชียงใหม่นั้น มีปัญหา หรืออุปสรรคทางการค้าที่เกิดขึ้นอย่างไร ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ การวิจัยเอกสาร และการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลแบบพรรณนาสรุปผล ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนกับเมียนมาของนักธุรกิจเชียงใหม่นั้นมี 4 ปัจจัยได้แก่ 1) ปัจจัยด้านการเมือง ถือเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลและมีความสำคัญต่อการตัดสินใจไปลงทุนเป็นอย่างมาก เพราะการที่รัฐบาลได้ปฏิรูปการเมืองนั้น ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในเสถียรภาพทางการเมืองมากขึ้น 2) ปัจจัยด้านค่าแรงและการจ้างงานในเมียนมานั้นยังมีราคาถูก จึงส่งผลดีต่อการทำธุรกิจและการค้าตามแนวชายแดนด้วย 3) ปัจจัยเชิงภูมิศาสตร์ที่เมียนมานั้นมีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและเชียงใหม่มีพรมแดนที่ติดกับเมียนมาในหลายอำเภอ ทำให้ชุมชนท้องถิ่นตามชายแดนมีวัฒนธรรมการดำรงชีวิตที่ใกล้เคียงกัน จึงส่งผลดีต่อการค้าขายตามแนวชายแดน 4) ปัจจัยด้านกฎระเบียบเกี่ยวกับการค้าและการลงทุนกับเมียนมา หลังการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจทำให้กฎหมายต่าง ๆ นั้นเอื้อสิทธิประโยชน์แก่การลงทุนจากต่างชาติมากยิ่งขึ้น แม้ว่าเมียนมาจะอยู่ในฐานะประเทศเป้าหมายที่มีศักยภาพและโอกาสในการลงทุนสูง แต่ก็พบว่ามีปัญหาและอุปสรรคอยู่หลายประการ ได้แก่ 1) ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอและทั่วถึง ทำให้เกิดความไม่สะดวกในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้า 2) อุปสรรคด้านระบบการเงิน และการธนาคารที่ล้าหลัง ไม่มีความทันสมัย 3) ความไม่แน่นอนของรัฐบาลเมียนมาในการกำหนดนโยบายเรื่องการค้าชายแดน 4) ปัญหาการค้ายาเสพติดตามแนวชายแดน 5) ภาษาที่ใช้ในการเจรจาทางธุรกิจ เนื่องจากเมียนมาประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย จึงทำให้มีภาษาเป็นจำนวนมาก 6) การทุจริตและความซ้ำซ้อนของหน่วยงานภาครัฐ 7) การขาดเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาล เมียนมา ข้อเสนอจากการศึกษาคือ 1) ต้องการให้ภาครัฐเข้ามามีบทบาทที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาการค้าตามแนวชายแดน เพื่อสร้างความมีเสถียรภาพทางการค้า 2) ยกเลิกมาตรการด้านข้อจำกัดสินค้าห้ามนำเข้า 3) ลดความยุ่งยากและซ้ำซ้อนในพิธีการด้านศุลกากร และ 4) ต้องการให้มีการเปิดจุดผ่อนปรนบ้านหลักแต่ง อ.เวียงแหง อย่างเป็นทางการen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.