Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดร.วรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorกนิษฐา ตุละทาen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T03:00:17Z-
dc.date.available2020-07-22T03:00:17Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69011-
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to study the process of providing information through the customers of Chiang Mai Zoo 2) to evaluate the effectiveness of providing information to the customers of Chiang Mai Zoo 3) to suggest the ways to provide information services to the customers of Chiang Mai Zoo. This study was a qualitative research by using questionnaires. The data were collected from 40 officials of Chiang Mai Zoo and 400 customers of Chiang Mai Zoo. The statistics used in this study was percentage. The results of the study were summarized as below. Process of providing information through customers of Chiang Mai Zoo was in a high level. When considering in each part, the process of providing information through customers of Chiang Mai Zoo was in a highest level. Secondly, the communication and perception of the officials were in the same score as a moderate to high level. About the effectiveness information providing process to the customers, most customers were satisfied with the services in overview at a high level. When considering in each part, the study found that most customers were satisfied with the information services provided by the officials at a highest level. Moreover, they were satisfied with the information services provided by the transportation services drivers and the media/publication, respectively. Forms of information services to customers of Chiang Mai Zoo were shown as below. 1. To provide information about buying tickets for visitors in Chiang Mai Zoo. 1.1 Installing the label of price tickets in front of the zoo. 1.2 The officials distributed brochures with more details for visitors at the front entrance of the zoo. 2. Submission and potential development. 2.1 There was the potential development of the technical presentation to the transportation services drivers. 2.2 There was shipping all activities information of the zoo to the transportation services drivers regularly. 3. Giving information by technology and adding more channels to provide information. 3.1 There were providing the brochure service spots inside the zoo such as panda exhibit spot, the seals show spot, and other animals showcase of talents spots. 3.2 There was the use of applications to help with data services such as QR Code. 4. Effective Communication. 4.1 There was using Social Media System to assist in data communication such as Line. 4.2 There was installing more internal audio throughout the zoo to both officials and customers feeling comfort and satisfaction. 4.3 There was managing the stage for presentation about the discovery of new information to the officials in Chiang Mai Zoo. The results suggested that there should be providing the details about buying tickets such as installing more labels of price tickets, managing the officials to distribute brochures with more details at the front entrance of the zoo, increasing the brochure services spots, developing the model of information service by the use of applications to help with data service, arranging the stage for presentation about the discovery of new information to the officials, and developing the efficiency of presentation and interpretation for the transportation services drivers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของกระบวนการให้ข้อมูลผู้ใช้บริการสวนสัตว์เชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness Information Providing Process to Chiang Mai Zoo Customersen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการให้บริการข้อมูลที่ผ่านมาแก่ผู้ใช้บริการในสวนสัตว์เชียงใหม่ 2) เพื่อประเมินประสิทธิผลของการให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาใช้บริการในสวนสัตว์เชียงใหม่ 3) เพื่อเสนอแนะรูปแบบการให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาใช้บริการในสวนสัตว์เชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ของสวนสัตว์เชียงใหม่ จำนวน 40 คน และแบบสอบถามผู้ใช้บริการสวนสัตว์เชียงใหม่ จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ กระบวนการให้บริการข้อมูลมี 3 ขั้นตอนได้แก่ 1)การให้บริการข้อมูล 2)การสื่อสารข้อมูลของผู้ให้บริการ 3)การรับรู้ข้อมูลของผู้ให้บริการ ความพึงพอใจเกี่ยวกับกระบวนการให้บริการข้อมูลในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามรายด้านพบว่า ในด้านการให้บริการข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการสวนสัตว์เชียงใหม่มีค่าคะแนนมากที่สุด รองลงมาคือด้านการสื่อสารและด้านการรับรู้ข้อมูลของผู้ให้บริการซึ่งมีระดับค่าคะแนนเท่ากันอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างมาก ประสิทธิผลของกระบวนการให้ข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในสวนสัตว์เชียงใหม่ ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจในการให้บริการข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่ของสวนสัตว์เชียงใหม่มากที่สุด รองลงมาคือการให้บริการข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่รถบริการ และการให้บริการข้อมูลโดยสื่อ/สิ่งพิมพ์ ตามลำดับ รูปแบบ การให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาใช้บริการในสวนสัตว์เชียงใหม่ มีองค์ประกอบ 4 ด้าน 1. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้อบัตรในการเข้าชมสวนสัตว์เชียงใหม่ 1.1 การติดตั้งป้ายราคาบัตรเข้าชมด้านหน้าสวนสัตว์ 1.2 การจัดเจ้าหน้าที่แจกโบว์ชัวร์รายละเอียดราคาบัตรเข้าชมสวนสัตว์ตรงบริเวณประตูทางเข้าด้านหน้าสวนสัตว์ 2. การนำส่งข้อมูลและการพัฒนาศักยภาพ 2.1 การพัฒนาศักยภาพในด้านเทคนิคการนำเสนอให้กับเจ้าหน้าที่รถบริการ 2.2 การจัดส่งข้อมูลกิจกรรมในสวนสัตว์ทุกกิจกรรมให้กับเจ้าหน้าที่รถบริการอย่างสม่ำเสมอ 3. การให้ข้อมูลด้วยการใช้เทคโนโลยี และการเพิ่มช่องทางในการให้ข้อมูล 3.1.การจัดจุดให้บริการด้านแผ่นพับและโบว์ชัวร์ภายในสวนสัตว์ เพิ่มเติมเช่น ส่วนจัดแสดงหมีแพนด้า ส่วนแสดงแมวน้ำส่วนแสงความสามารถของสัตว์ 3.2 การใช้แอพพลิเคชั่นมาช่วยในการให้บริการด้านข้อมูลเช่นQR Code 4. การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 4.1 การใช้ระบบ Social Media มาช่วยในการสื่อสารข้อมูล เช่นระบบ Line 4.2 การติดตั้งระบบเสียงตามสายเพิ่มเติมให้ทั่วทั้งบริเวณสวนสัตว์เพื่อให้ทั้งผู้ให้และใช้บริการข้อมูลเกิดความสะดวกสบายและเกิดความพึงพอใจ 4.3 การจัดเวทีนำเสนอการค้นพบข้อมูลใหม่ๆสำหรับเจ้าหน้าที่ในสวนสัตว์ ข้อเสนอแนะ ควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้อบัตรโดยละเอียด เช่นการติดตั้งป้ายราคาบัตรเข้าชมสวนสัตว์แต่ละชนิดเพิ่มเติม จัดเจ้าหน้าที่แจกโบว์ชัวร์รายละเอียดราคาบัตรเข้าชมสวนสัตว์แต่ละชนิดตรงบริเวณประตูทางเข้าด้านหน้าสวนสัตว์ เพิ่มจุดให้บริการด้านแผ่นพับและโบว์ชัวร์ พัฒนารูปแบบให้บริการข้อมูลด้วยการนำแอพพลิเคชั่นมาช่วยในการให้บริการด้านข้อมูล จัดเวทีการนำเสนอการค้นพบข้อมูลใหม่ๆสำหรับเจ้าหน้าที่ในสวนสัตว์ ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพในด้านการนำเสนอและการสื่อความหมายให้กับเจ้าหน้าที่รถบริการen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.