Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิกุล นันทชัยพันธ์-
dc.contributor.authorแสงสุรีย์ ปาระมีโชคen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T06:07:27Z-
dc.date.available2020-07-21T06:07:27Z-
dc.date.issued2015-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69005-
dc.description.abstractStroke is a disorder of the central nervous system caused by dysfunction of the cerebral blood vessels. Stroke is a major cause of disability, it limits daily activity and it impairs self-caring after an acute attack. Discharge planning is essential for these patients in order to prevent unsatisfactory conditions. This developmental study aimed to develop discharge planning guidelines for stroke patients. The study setting was Sriphat Medical Center, Faculty of Medicine, Chiang Mai University. A multidisciplinary care team, composed of 2 physicians, 6 nurses, and 1 physiotherapist, participated in the study. The process of guideline development was based on the framework of evidence-based guideline development as proposed by the National Health and Medical Research Council [NHMRC] (1999). The developed guidelines were approved by 3 clinical experts and were then tested by 3 stroke patients. The result of the study yielded a set of evidence-based discharge planning guidelines for stroke patients, which included 4 categories of practice recommendations. They were 1) practice ethics and protecting the rights of patients; 2) preparing the patient prior to discharge; 3) discharging the patient; and 4) following up after discharge. The developed guidelines were approved by 3 experts. All recommendations presented by these guidelines were proved for feasibility, appropriateness, and meaningfulness with 3 stroke patients. The discharge planning guidelines for stroke patients developed during this study can be used in the study setting. This guidelines should be systematically implemented to improve quality of discharge planning. Further study should be done to test the outcomes of guideline implementation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติการวางแผนจำหน่าย สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ศูนย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Development of Discharge Planning Guidelines for Stroke Patients, Sriphat Medical Center, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคหลอดเลือดสมอง เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุหลักของความพิการ ทำให้มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และมีความพร่องในการดูแลตนเอง การศึกษาเชิงพัฒนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการวางแผนจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง สถานที่ศึกษาได้แก่ศูนย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทีมผู้ดูแลซึ่งประกอบด้วยแพทย์ 2 คน พยาบาล 6 คน และ นักกายภาพบำบัด 1 คน ได้มีส่วนร่วมในการศึกษาครั้งนี้ กระบวนการพัฒนาแนวปฏิบัติอิงกรอบการพัฒนาแนวปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เสนอโดยสภาการวิจัยด้านการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย (National Health and Medical Research Council [NHMRC], 1999) แนวปฏิบัติที่พัฒนาขึ้นได้รับการตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน และได้รับการทดสอบกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 3 คน ผลการศึกษาได้แนวปฏิบัติการวางแผนจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะวิธีปฏิบัติรวม 4 หมวด ได้แก่ 1) การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยและจริยธรรม 2) การเตรียมผู้ป่วยก่อนการจำหน่าย 3) การจำหน่ายผู้ป่วย และ 4) การติดตามหลังการจำหน่าย คุณภาพเชิงเนื้อหาของแนวปฏิบัติที่พัฒนาขึ้นได้รับการรับรองโดยผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คน ข้อเสนอแนะวิธีปฏิบัติทุกข้อที่ปรากฏในแนวปฏิบัติได้รับการทดสอบกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 3 คน ในแง่ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ความเหมาะสม และ ความมีคุณค่า แนวปฏิบัติการวางแผนจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พัฒนาขึ้นในการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้ในหน่วยบริการสุขภาพที่เป็นสถานศึกษา แนวปฏิบัตินี้ควรมีการนำไปใช้อย่างเป็นระบบเพื่อปรับปรุงคุณภาพของการวางแผนจำหน่าย การวิจัยครั้งต่อไปควรทำการทดสอบผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.