Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.สุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorรศ.ดร. รุจ ศิริสัญลักษณ์-
dc.contributor.advisorรศ.ดร. สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์-
dc.contributor.authorจิราภรณ์ อุ่นนันกาศen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T06:07:17Z-
dc.date.available2020-07-21T06:07:17Z-
dc.date.issued2015-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69003-
dc.description.abstractThe purposes of the research were (1) to study in individual factors, social factors and economic factors of farmers who take part in contract broiler farming with private sectors, (2) to studyfactors affecting decision to be a contract broiler farming with private sectors and (3) to investigate problems, obstacles and suggestion for being in the poject. The population and sampleswere120 farmers in Lamphun Province; 78 farmers were in the project and 42 farmers were not. The collected data were from close-ended questions and open-ended questions, and they were analyzed by SPSS (Statistical Package for Social Science) to calculate the mean, maximum and minimum values, standard deviation to examine the relationship of independent variable – the individual background, economic factors, and other factors – that influencing the dependent variable by analyzed the relationship of various factors affecting decision to be a contract broiler farming with private sectors in Lamphun Province and calculate for the Chi – square. The results demonstrated that most farmers who took part in the project were male aged 43.35 years old in average, graduated grade 6, married and were the heads of the families, and had the main career as agriculturists. Their income was 23,459.46 baht per month in average. They got loans fromBank for Agriculture and Agricultural Cooperatives, and received the information about the project from their neighbors. They owned their property 8.70 rai per person in average, and their debt value was 803,209 baht per person in average. Most farmers that didn’t take part in the project were male, aged 39.60 years old in average, graduated grade 6, married and were the heads of the families, and had the main career as agriculturists. Their income was 26,051.28 baht per month in average. They didn’t get the investment to make farms, and received the information about the project from their neighbors. They rented the property 5.81 rai per person in average. There were four factors that related to participating in the project; (1) producing factors, farmers received good quality of breeds and feed, knowledge and suggestion about raising broilers and frequent examination, including the obvious period for taking broilers in and out of farming process, (2) marketing and pricing factors, there were certain markets for yield, and the producing factors related to the price, (3) supporting factors from the private sectors and their personnel, the reputation and the reliability of the supporting company could support the loan possibility, there were variedalternatives for investment sizes to choose, and the farmers received the suggestion before participating with the project, (4) social factors, family labor, example of successful farmers, and obtaining knowledge and information from agricultural extensionistsor officers of Department of Livestock. There were some obstacle that affected the farmers who were in the project e.g. (1) some famers were lack of knowledge about farming, (2) they owned insufficient land for farming, (3) there were inadequate labor and investment for the companies’ condition, (4) water was scarce to expand their farms in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคา กับบริษัทเอกชน ในจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeFactor Affecting Decision Making to Participate in Broiler Contract Farming Project with Private Company in Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสังคมและปัจจัยด้านเศรษฐกิจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคากับบริษัทเอกชน เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคา กับบริษัทเอกชนและเพื่อศึกษาถึงปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ของเกษตรต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคา กับบริษัทเอกชน ประชากร และกลุ่มตัวอย่างได้แก่ เกษตรกรในจังหวัดลำพูน จำนวน 120 ราย แบ่งเป็นเข้าร่วมโครงการ 78 รายและไม่เข้าร่วมโครงการ 42 รายเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้คำถามปลายปิด (Close-ended questions) และคำถามปลายเปิด (Open-ended questions) และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS (Statistical Package for Social Science) เพื่อหาค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ได้แก่ ลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ และปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีผลต่อตัวแปรตาม โดยวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคา กับบริษัทเอกชน ในจังหวัดลำพูน โดยคำนวณหาค่าไคร์สแควร์ จากผลการศึกษาพบว่ากลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคา กับบริษัทเอกชนส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย44.05ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีสถานภาพสมรส เป็นหัวหน้าครอบครัวมีอาชีพหลักเป็นการเกษตร มีรายได้เฉลี่ย25,158.32 บาท/เดือนได้รับเงินทุนในการสร้างฟาร์มจาก ธ.ก.ส.ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคาจากเพื่อนบ้าน มีที่ดินเป็นของตนเองเฉลี่ย 9.75ไร่/รายมีมูลค่าหนี้เฉลี่ย 812,023 บาท/ราย ส่วนเกษตรกรที่ไม่เข้าร่วมโครงการฯ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 39.80 ปีจบการศึกษาระดับประถม มีสถานภาพสมรส เป็นหัวหน้าครอบครัวมีอาชีพหลักเป็นการเกษตร มีรายได้เฉลี่ย 18,918.60 บาท/เดือน ไม่ได้รับเงินทุนในการสร้างฟาร์มได้รับข่าวสารเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคาจากเพื่อนบ้าน มีที่ดินเป็นแบบเช่าผู้อื่นเฉลี่ย 5.88 ไร่/ราย ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อปัจจัยที่มีความสำคัญกับการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการเลี้ยงไก่เนื้อประกันราคา กับบริษัทเอกชนมี 4 ด้านได้แก่ 1) ปัจจัยด้านการผลิต (การที่เกษตรกรได้รับอาหารที่มีคุณภาพ พันธุ์สัตว์ที่มีคุณภาพ การได้รับความรู้ และคำแนะนำด้านการเลี้ยงมีตรวจเยี่ยมสม่ำเสมอมีกำหนดเวลานำไก่เข้าเลี้ยง และจับไก่ออกอย่างชัดเจน) 2) ปัจจัยด้านการตลาด ราคา (มีตลาดที่แน่นอน ราคาปัจจัยการผลิตมีความเหมาะสม ค่าตอบแทนตามกำหนด และราคารับซื้อเป็นธรรมกับผู้เลี้ยง) 3) ปัจจัยด้านการสนับสนุนของบริษัทเอกชนและเจ้าหน้าที่ (ชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือของบริษัท บริษัทมีการจัดหาแหล่งเงินทุนมีขนาดการลงทุนให้เลือก และได้รับคำแนะนำก่อนการดำเนินโครงการ)4) ปัจจัยด้านสังคม (แรงงานในครัวเรือน ตัวอย่างเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จ และได้รับข่าวสารและข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรหรือเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์)โดยปัญหาของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ เกษตรกรขาดความรู้ความเข้าใจในการทำฟาร์ม มีพื้นที่ถือครองที่ดินในการสร้างฟาร์มน้อยเกินไป มีแรงงาน และเงินทุนมีไม่เพียงพอกับเงื่อนไขของบริษัท ขาดแคลนแหล่งน้ำ และการขยายฟาร์มในอนาคตen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.