Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ชมพูนุท เกษมเศรษฐ์-
dc.contributor.authorวุฒิชัย วิชัยขัทคะen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T06:06:58Z-
dc.date.available2020-07-21T06:06:58Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68999-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study was to increase efficiency in packing process of one snack factory. The objectives of this work were to reduce and set up the number of workers in the packing process. The concept of work study was used to analyze the existing production line through flow diagram and process chart. Improvement solutions were proposed based on 5W1H and ECRS concept. The results from the improvement solutions were affected on reducing unnecessary operations, combining, rearranging and simplifying working steps and balancing work flow as a final result. Then, existing and improving systems were compared to evaluate the improvement solutions for real implementing in this company. The results of the improved system showed that, the manufacturing cycle time was reduced from 4.22 minutes to 3.96 minutes that was 6.16% reduction, the number of operations was reduced from 8 to 7 steps that was 12.50% reduction and the number of workers was reduced from 39 workers to 30 workers that was 23.08% reduction in labor cost.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการบรรจุของโรงงานผลิตขนมขบเคี้ยวen_US
dc.title.alternativeEfficiency Improvement in Packing Process of Snack Factoryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการบรรจุของโรงงานผลิตขนมขบเคี้ยว มีวัตถุประสงค์เพื่อลดจำนวนพนักงานที่ใช้ในกระบวนการบรรจุขนมขบเคี้ยว และหาปริมาณคนที่เหมาะสมสำหรับแต่ละสถานีงาน โดยใช้วิธีการศึกษางานในการวิเคราะห์การทำงานในสายการผลิต ได้แก่ แผนผังการไหล (Flow Diagram) แผนภูมิกระบวนการผลิต (Process Chart) ทำการปรับปรุงสายการผลิตโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม (5W-1H) และหลักการ ECRS ที่ใช้การลดงานที่ไม่จำเป็น รวมงานที่คล้ายกัน จัดลำดับของงานใหม่และปรับปรุงวิธีการทำงานให้สามารถทำงานได้ง่ายยิ่งขึ้นรวมถึงทำให้เกิดสมดุลในสายการผลิต หลังจากนั้นทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตก่อนและหลังการปรับปรุงเพื่อนำเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้กับทางโรงงาน จากการออกแบบเพื่อปรับปรุงสายการผลิตนี้ผลการปรับปรุงพบว่า สามารถลดรอบเวลาในกระบวนการผลิตจาก 4.22 นาทีเป็น 3.96 นาที คิดเป็นร้อยละ 6.16 และลดขั้นตอนในการจากเดิม 8 ขั้นตอน เป็น 7 ขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ลดจำนวนพนักงานที่ใช้ทั้งหมดจากเดิม 39 คน เป็น 30 คน เมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบการทำงานปัจจุบันของสายการผลิต จากจำนวนพนักงานที่ลดไปนั้นส่งผลให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการจ้างงานได้ถึงร้อยละ 23.08en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.