Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ภราดร สุรีย์พงษ์-
dc.contributor.authorปราง ธงไชยen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T06:06:31Z-
dc.date.available2020-07-21T06:06:31Z-
dc.date.issued2015-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68994-
dc.description.abstractThis is an independent study that examines the behavior of users being engaged with their smart phone applications for the purpose of designing a user interface that responds rapidly and effectively when in use. This would reduce errors and costs in the process of designing and creating an application of the software engineering project. The color theory was applied to the basic web design, the perception of the consumer, and on the movement of the user's monitor cell responses. The Persona theory was put to the test in designing the user interface. The Paper prototype was tested 6 times on the interface and Context prototype 1 was tested with 80 CMU undergraduate students. The results from the study showed that the following factors affected the application functions: 1) the interpretation of the users who construed the use of the apps function by stating what they’ve used to like before using them, 2) the color in the test changes the color symbolism in the design. Users can recognize them faster in 1.8 seconds, 3) The selection in recognition allows users to focus on their goal and 4) the nature of exposure and capture devices. The position of the touch-screen machines have an effect on determining the buttons that are in the order of importance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้บนสมาร์ทโฟน เพื่อการจองห้องศึกษาค้นคว้าของห้องสมุดen_US
dc.title.alternativeUser Interface Design on Smart Phone for Reserving Study Room of Libraryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานค้นคว้าอิสระนี้ ทำการศึกษาพฤติกรรมการใช้ของผู้ใช้แอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน เพื่อให้สามารถ ออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ให้สามารถตอบสนองต่อผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยลดความผิดพลาดและต้นทุนในขั้นตอนการออกแบบและสร้างแอพพลิเคชั่นของโครงการด้านวิศวกรรมซอฟท์แวร์ โดยในการศึกษา ได้ทำการศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับ สี การออกแบบเว็บไซต์เบื้องต้น กระบวนการรับรู้ของผู้บริโภค ลักษณะการเคลื่อนไหวของผู้ใช้ที่ตอบสนองต่อหน้าจอมือถือ รวมไปถึงทฤษฎี Persona เพื่อนำมาใช้ในการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ที่จะนำไปทดสอบ ในส่วนของการทดสอบ ต้นแบบส่วนต่อประสานได้ทำการทดสอบแบบ Paper prototype 6 ครั้ง และแบบ Context prototype 1 ครั้ง โดยทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวม 80 คน จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้แอพพลิเคชั่นคือ 1) การตีความของผู้ใช้ ที่จะตีความการใช้งานของแอพพลิเคชั่นให้เหมือนกับสิ่งที่ตนเองเคยใช้มาก่อน 2) สี ในการทดสอบเปลี่ยนสีสัญลักษณ์ในการออกแบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถรับรู้ได้เร็วขึ้นถึง 1.8 วินาที 3) การเลือกรับรู้ ที่ทำให้ผู้ใช้มุ่งสนใจแต่เป้าหมายของตนเอง และ 4) ลักษณะการสัมผัสและจับอุปกรณ์ ตำแหน่งของมือเวลาที่สัมผัสหน้าจอนั้นมีผลต่อการกำหนดตำแหน่งปุ่มกดต่างๆตามลำดับความสำคัญen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf8.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.