Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68991
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.ไพรัช กาญจนการุณ | - |
dc.contributor.advisor | รศ.ดร.นิสิต พันธมิตร | - |
dc.contributor.author | สรวุฒิ บุญญพิทักษ์สกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-21T06:06:17Z | - |
dc.date.available | 2020-07-21T06:06:17Z | - |
dc.date.issued | 2015-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68991 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to analyze the cost-benefit of exercise gymnasium project of Payap University, and to investigate the financial-economic feasibility and sensitivity analysis of the project. Net present value (NPV), Benefit-Cost ratio (B/C ratio), Interest rate of return (IRR) and Payback period (PP) were employed for the feasibility analysis. Regarding to the economic feasibility analysis, the results indicated the NPV was 515,618 bath, B/C ratio is 1.14, IRR was 19.15% and PP was 8.09 years. The sensitivity analysis were performed by simulating the maximum changes of cost and minimum changes of benefit whereas the internal rate of return (IRR) approach to the discount rate of the project. According to the economic study the cost could be changed as maximum rate of 13.75% and the benefit could be changed as minimum rate of 12.1%. It implied this project highly demonstrated the possibility and valuable of the investment. Therefore, policymaker should strongly implement measures to support this project to be existed. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์ ของโครงการศูนย์ออกกำลังกาย ของมหาวิทยาลัยพายัพ | en_US |
dc.title.alternative | Economic Cost-benefit Analysis of Exercise Gymnasium Project of Payap University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน และผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมของโครงการศูนย์ออกกำลังกาย ของมหาวิทยาลัยพายัพ และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร์ ตลอดจนวิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของโครงการโดยการวิเคราะห์โครงการได้ใช้เกณฑ์ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน อัตราผลตอบแทนภายในและระยะคืนทุนของโครงการ ผลจากการวิเคราะห์ทางการเงินพบว่า มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนมีค่าเท่ากับ อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ และระยะคืนทุนพิจารณาจากภาคผนวก ก ผลการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์พบว่า มูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่าเท่ากับ 515,618 บาท อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนมีค่าเท่ากับ 1.14 อัตราผลตอบแทนภายในโครงการมีค่าเท่ากับร้อยละ 19.15% และระยะคืนทุนของโครงการอยู่ที่ 8.09 ปี สำหรับผลการวิเคราะห์ความไวต่อเหตุการณ์เพื่อพิจารณาความสามารถในการเปลี่ยนแปลงการเพิ่มขึ้นของต้นทุนและการลดลงของผลตอบแทน จนถึงระดับที่โครงการมีความเสี่ยงที่ยอมรับได้ จากภาคผนวก ข นั่นแสดงถึงโครงการมีความยืดหยุ่นในการลงทุนที่สูงและคุ้มค่าต่อการลงทุน ดังนั้นผู้วางแผนเชิงนโยบายควรมีมาตรการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อสนับสนุนโครงการนี้ให้เกิดขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.