Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68988
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งฉัตร ชมภูอินไหว-
dc.contributor.authorอภิรดี ไชยชมภูen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:52:28Z-
dc.date.available2020-07-21T05:52:28Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68988-
dc.description.abstractThe objective of this study is to present the reduction of sliced pork belly product package’s weight to comply with specifications using Six Sigma techniques. The study was conducted in 5 steps of Six Sigma method which are define, measure, analyze, improve, and control. The study began with determining the extent of the problem. Specifically, this study only focused on sliced pork belly, since it was consumed in highest demand. At the production process, after the product (sliced pork belly) had been packed, generally the weight of the package was over specifications. As a result, the production costs were very high. Therefore, this study aimed to reduce package’s weight of sliced pork belly to weigh between the range of 1,000 grams and 1,010 grams. The process of measurement and data integration were conducted to find variation of the measurement’s mistake from the study of measurement’s repeatability and reproducibility (Gage R&R). In addition, standard deviation, weight after packing, process capability (Cp), and process capability index (Cpk) were used to measure the process capability. Consequently, the cause & effect diagram and risk assessment were also used to identify causes of problem from people who associate with the production process’s brain-storming. The results showed that: the problems came from inappropriate temperature of sliced pork belly (before it entered into the slicing machine), and no standard of belly pork’s size. The researcher had taken experimental design technique to define an appropriate factors and the results has showed: (1) the temperature of the pre-sliced pork belly should be -1 degrees celsius, (2) the proper way to put pork belly into slice machine was to turn sirloin towards the blade and (3) the sliced pork belly must be inverted to get a size of 5 millimeters. Moreover, the continuously development led the slice machine to cut the meat in a size of 9 inches wide. A new design of new equipment also caused slice machine to cut pork belly into 2.5 inches and 1.5 inches. To create easier and more accurate work process, the number of sliced pork belly for one pack was determined to be 30-32 pieces so that the package’s weight complies with specifications of 1,000 grams and 1,010 grams. Finally, a controlling process was conducted by developing the work instruction guideline which will control the work process to follow the given guideline. As a result of the research, the sliced pork belly product package’s average weight could decrease from 1,018grams to 1,005 grams/pack and standard deviation also decreased from 4.965 to 1.737 grams which made the process comply with the specifications.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดน้ำหนักบรรจุของผลิตภัณฑ์หมูสามชั้นสไลด์ให้อยู่ในข้อกำหนดคุณลักษณะโดยใช้เทคนิคซิกซ์ ซิกมาen_US
dc.title.alternativeReduction of Sliced Pork Belly Product Package’s Weight to Comply with Specifications Using Six Sigma Techniquesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดน้ำหนักบรรจุของผลิตภัณฑ์หมูสามชั้นสไลด์ให้อยู่ในข้อกำหนดคุณลักษณะด้วยการประยุกต์ใช้เทคนิคซิกซ์ ซิกมา โดยได้ดำเนินการวิจัยตามขั้นตอนหลักของเทคนิคซิกซ์ ซิกมา 5 ขั้นตอนอันได้แก่ การกำหนดขอบเขตของปัญหา (Define) การวัดผลและการรวบรวมข้อมูลของกระบวนการ (Measure) การวิเคราะห์ (Analyze) การปรับปรุง (Improve) และการควบคุม (Control) งานวิจัยเริ่มจากการกำหนดขอบเขตของปัญหา โดยทำการศึกษาเฉพาะสินค้าหมูสามชั้นสไลด์เพราะมีปริมาณการสั่งซื้อสูงสุด ซึ่งปัญหาหลักคือ น้ำหนักสินค้าหลังบรรจุเกินข้อกำหนดคุณลักษณะทำให้เสียต้นทุนในการผลิตมากขึ้น จึงกำหนดเป้าหมายในการศึกษาคือ ลดน้ำหนักบรรจุของผลิตภัณฑ์หมูสามชั้นสไลด์ให้อยู่ในข้อกำหนดคุณลักษณะในช่วง 1,000 กรัม ถึง 1,010 กรัม จากนั้นได้ดำเนินการในขั้นตอนการวัดผลและการรวบรวมข้อมูลของกระบวนการเพื่อหาสาเหตุความคลาดเคลื่อนจากความผิดพลาดที่มีผลต่อการวัด โดยศึกษาค่ารีพีททะบิลิตี้และค่ารีโปรดิวซิบิลิตี้ของระบบการวัด (Gage R&R) และเพื่อวัดความสามารถของกระบวนการผลิตก่อนการปรับปรุงโดยการวัดค่าเฉลี่ย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของน้ำหนักหลังการบรรจุ ค่าความสามารถของกระบวนการ (Cp)และค่าสมรรถนะของกระบวนการที่แท้จริง (Cpk) ต่อมาได้ทำการวิเคราะห์ เพื่อหาสาเหตุของปัญหาด้วยแผนผังแสดงเหตุและผลและจากการประเมินค่าความเสี่ยง จากการระดมสมองร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิต พบว่าสาเหตุหลักของปัญหามาจากอุณหภูมิของสามชั้นแผ่นก่อนเข้าเครื่องสไลด์อัตโนมัติไม่เหมาะสมและไม่มีมาตรฐานในการวางวัตถุดิบก่อนเข้าเครื่องและการตัดแบ่งสามชั้นสไลด์เพื่อให้ได้ขนาดตามข้อกำหนด ดังนั้นในขั้นตอนการปรับปรุง ผู้วิจัยจึงได้นำเทคนิคการออกแบบการทดลองมาใช้เพื่อหาค่าปัจจัยที่เหมาะสมพบว่า อุณหภูมิสามชั้นแผ่นก่อนเข้าเครื่องสไลด์อัตโนมัติควรอยู่ที่ -1 องศาเซลเซียส การวางเนื้อต้องเอาด้านสันนอกเข้าหาใบมีด และการวางเนื้อจะต้องคว่ำเนื้อเพื่อให้ได้ขนาดที่ 5 มิลลิเมตรและในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องได้ทำการตัดสามชั้นแผ่นให้มีความกว้างอยู่ที่ 9 นิ้ว ทำการออกแบบอุปกรณ์ใหม่เพื่อช่วยทำให้ตัดสามชั้นสไลด์ให้มีขนาดสม่ำเสมอที่ 2.5 นิ้วและ 1.5 นิ้ว และทำการกำหนดจำนวนชิ้นของหมูสามชั้นสไลด์ให้ได้น้ำหนักตามข้อกำหนดคุณลักษณะที่ 1,000 กรัม ถึง 1,010 กรัมที่ 30 – 32 ชิ้นต่อหนึ่งแพ็ค เพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้ง่ายและมีความแม่นยำมากขึ้น สุดท้ายได้ทำขั้นตอนการควบคุม โดยจัดทำเอกสารการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามที่ได้เสนอแนวทาง ผลการวิจัยพบว่าน้ำหนักบรรจุของผลิตภัณฑ์หมูสามชั้นสไลด์สามารถลดลงจากค่าเฉลี่ย 1,018 กรัม เป็น 1,005 กรัมต่อถุง และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลงจาก 4.965 เหลืออยู่ที่ 1.737 กรัม ทำให้อยู่ในข้อกำหนดคุณลักษณะที่กำหนดมากขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.