Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68964
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.วรพงศ์ ตระการศิรินนท์ | - |
dc.contributor.author | สโรชิน ปิดความลับ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-21T05:46:23Z | - |
dc.date.available | 2020-07-21T05:46:23Z | - |
dc.date.issued | 2015-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68964 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to study the impact and problems of the Secondary Service Area Office 35 towards branches within the educational service area; and secondly to analyze the students’ achievement in the secondary schools. The sample consisted of 40 educational officers and 5 administrators. The instruments used in this study were checklist questionnaires and interviews. Collected data were then analyzed through the application of the percentage. The results of this study are as follow: 1) The impact on administration and management of the Office of Secondary Education Area 35 comprises of four aspects. Features namely academic, finance, personnel administration, and general administration. It established that high performance had been achieved because each school applied technology in their administration. The school networks were used to accommodate the coordination of public relations and information service. In addition, not only the schools shared resources and budgets for their organizations but also the finance were communal with the primary schools. Therefore, the schools had enough resource to develop their technology for teaching and learning intentions. The problem of each school was surveillance. Lack of participation, encouragement and manpower issues were the primary reason for the failure of two provinces (Lampang-Lamphun). Notably the child –centered method was not focused on their classroom. 2) The student’s accomplishment for the schools in the Secondary Service Area Office 35 did achieve its goals.The study showed that the achievement of Mathayomsukka III students of 11 small schools was the best in the entire group with on average over 3.2 percent. However, the achievement of Mathayomsuksa VI students in all schools slightly increased, however it did not reach the goal. Only Mathayomsuksa VI students of Maetaprachasammukkee School achieved success as they were expected. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลกระทบจากการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาที่มีต่อการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 | en_US |
dc.title.alternative | The Impacts of Educational Service Area Dividing on Educational Management of the Secondary Educational Service Area Office 35 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระ เรื่องผลกระทบจากการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาที่มีต่อการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบของสภาพและปัญหาที่เกิดขึ้นกับการบริหารของสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ภายหลังจากการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา 2) เพื่อวิเคราะห์สัมฤทธิผลทางด้านการเรียนของนักเรียนที่ได้รับผลกระทบจากการบริหารจัดการศึกษาภายหลังจากการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ผู้ศึกษาได้ทำการการศึกษาเรื่องผลกระทบต่อระบบการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 โดยการศึกษาวิจัยเชิงผสม วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 45 คน จำแนกออกเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในสำนักงานจำนวน 40 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึกต่อผู้บริหารและผู้อำนวยการกลุ่มงานต่างๆ จำนวน 5 คน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาโดยการบรรยายสรุป ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ผลกระทบด้านการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 ได้ดำเนินการบริหารและจัดการงานทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านวิชาการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณและด้านการบริหารทั่วไป อยู่ในระดับค่อนข้างดีมาก ผลการศึกษาปรากฏว่า ในงานทุกระบบตรวจสอบง่าย มีความคล่องตัว เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาใช้ มีการสร้างกลุ่มเครือช่วยประสานงาน สั่งการ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูล รวมทั้งมีอิสระในการจัดหาทรัพยากรและงบประมาณมาใช้ในการจัดการศึกษาและ งบประมาณในการลงทุนด้านอาคารสถานที่ที่ได้รับมากขึ้น เพราะไม่ได้เปรียบเทียบความขาดแคลนกับความจำเป็นกับโรงเรียนในระดับประถมศึกษา มีการพัฒนาเทคโนโลยีทำให้การทำงานมีความคล่องตัว เกิดประสิทธิภาพดีขึ้น ปัญหาที่ปรากฏ คือ การติดตามงานยังไม่ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากต้องดูแลโรงเรียนในสังกัดทั้ง 2 จังหวัด (จังหวัดลำปาง-ลำพูน ยังพบปัญหาที่สำคัญ คือ การยึดหลักผู้เรียนสำคัญที่สุดยังไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์หลักในการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งหวังยังคงมีระดับประสิทธิภาพเท่าเดิม 2 ) สัมฤทธิ์ผลทางด้านการเรียนของนักเรียน ผลปรากฏว่า ไม่ประสบความสำเร็จตามที่เป้าหมายกำหนดไว้ในเหตุผลของการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาครั้งแรก ปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 “กลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก” ดีที่สุดในภาพรวมทุกกลุ่ม สามารถบรรลุเป้าหมายความสำเร็จที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดไว้ โดยมีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์เป้าหมายความสำเร็จเกิน 3.2 ขึ้นไป จำนวนสูงที่สุดในทุกกลุ่มโรงเรียนจำนวนทั้งหมด 11 โรง ตรงกันข้าม ผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในทุกกลุ่มโรงเรียนปรากฏว่า โรงเรียนเกือบทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยผลสอบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายความสำเร็จที่ได้กำหนดไว้ มีเพียงโรงเรียนเดียวเท่านั้น สามารถบรรลุเป้าหมายความสำเร็จที่กำหนดไว้ คือ “โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคี” | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 5.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.