Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorภัทรธิดา วงศ์ภูงาen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:45:37Z-
dc.date.available2020-07-21T05:45:37Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68957-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to analyze the impacts of 300 Baht minimum wage policy on the construction entrepreneurs in Mueang Chiang Mai District which were two aspects such as human resource management and quality production management, It also examined the adaptations of entrepreneurs in construction business in Mueang Chiang Mai District on 300 Baht minimum wage policy. The samples used in this study were 14 cases of construction businesses which were registered as a juristic person. These businesses included seven limited companies and seven limited partnerships. The research instrument was a semi-structured interview. The data were collected by the in-depth interviews and presented by descriptive information. The study found that the impacts on human resources management in the field of labor recruitment were not affected by the policy. The recruitment was in normal situation. The labor recruitment process had no increasing expenses. The field of labor selection, the entrepreneurs in construction business had more rigorous in labor selection process by considering the qualifications of labor on capabilities, experiences, and functional skills. The welfare, the entrepreneurs offered the welfare for their own employees as before without increase or decrease, which might affect the cost of establishment. The part of labor relations, the study found that the relationship between employers and employees was going in a better direction. The impacts of manufacturing quality management, the entrepreneurs were impacted in terms of costs and profits due to the higher wages. Furthermore, the processing fee and some construction materials were adjusted to a higher price. As a result, the entrepreneurs would receive less profit. The performance result showed that the performance of employees was in the original level but the employees were hardworking and responsible improvement. The study on adaptations of entrepreneurs in construction business in Mueang Chiang Mai District was shown as follows: 1) the entrepreneurs were changing the employment system from the daily wage to the sub-contract worker instead 2) the entrepreneurs in construction business offered clients a job in higher value 3) the entrepreneurs were hiring migrant workers instead of Thai workers 4) the construction business entrepreneurs used the mechanism to replace human labors in some types of works.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ ๓๐๐ บาท ที่มีต่อธุรกิจ รับเหมาก่อสร้างในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeImpacts of 300 Baht Minimum Wage Policy on Construction Business in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท มีต่อผู้ ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในอำเภอเมืองเชียงใหม่ 2 ด้านคือ หนึ่ง ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สอง ด้านการบริหารคุณภาพการผลิต ตลอดจนสำรวจแนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ต่อนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ที่มีการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวน 14 ราย ได้แก่ บริษัทจำกัด 7 ราย และห้างหุ้นส่วนจำกัด 7 ราย โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง เป็นเครื่องมือในการศึกษา มีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ผลกระทบเรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้านการสรรหาแรงงาน ไม่ได้รับผลกระทบจากการปรับนโยบาย การสรรหาอยู่ในสภาวการณ์ปกติ และไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากกระบวนการสรรหาแรงงาน ด้านการคัดเลือกแรงงานนั้น ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง มีความเข้มงวดด้านการคัดเลือกแรงงานมากขึ้น โดยมีการพิจารณาคุณสมบัติของแรงงาน เกี่ยวกับ ฝีมือ ประสบการณ์และทักษะการทำงาน ด้านสวัสดิการ ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีการจัดสวัสดิการให้แก่ลูกจ้างเช่นเดิมโดยไม่มีการปรับเพิ่มขึ้นหรือลดลงซึ่งส่งผลกระทบต่อต้นทุนของสถานประกอบการ ด้านแรงงานสัมพันธ์ พบว่า สัมพันธภาพระหว่างนายจ้างและลูกจ้างเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น ผลกระทบเรื่องการบริหารคุณภาพการผลิต พบว่า ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ได้รับผลกระทบด้านต้นทุนและผลกำไรเนื่องจากมีต้นทุนด้านค่าจ้างที่สูงขึ้น มีค่าดำเนินการและค่าวัสดุก่อสร้างบางรายการปรับราคาสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างได้รับผลกำไรน้อยลง ด้านผลการปฏิบัติงาน พบว่า ประสิทธิภาพการทำงานของลูกจ้างอยู่ในระดับเดิมแต่ลูกจ้างมีความขยันและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ดีขึ้น ผลการศึกษาด้านแนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่า 1) ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีการเปลี่ยนระบบการจ้างงานจากจ้างรายวันมาเป็นจ้างเหมาแทน 2) ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีการเสนองานต่อลูกค้าในมูลค่าที่สูงขึ้น 3) ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีการจ้างแรงงานต่างด้าวทดแทนแรงงานไทย 4) ในงานบางประเภทผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมีการใช้เครื่องจักรทดแทนแรงงานคนen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.