Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีรชัย ลิมป์ลาวัณย์en_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 34,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2556), 39-48en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2556_34_2_330.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68903-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractความก้าวหน้าทางวิชาทางด้านทันตกรรมรากเทียมทำให้ทันตแพทย์สามารถสร้างซี่ฟันปลอม เพื่อทดแทนฟันซี่ที่สูญเสียไปได้ ซึ่งการวางแผนการรักษาเพื่อทำฟันปลอมบนรากเทียมสามารถทำได้ในผู้ป่วยที่สูญเสียฟันหนึ่งหรือสองซี่จนถึงเพื่อรองรับฟันปลอมถอดได้ทั้งปาก ดังนั้นการตรวจในช่องปากอย่างละเอียดการตรวจทางภาพรังสีและการทำงานร่วมกันแบบสหสาขาจะช่วยให้การรักษาประสบความสำเร็จและมีข้อผิดพลาดน้อยที่สุด การใช้แผ่นแบบสำหรับถ่ายภาพรังสีร่วมกับการใช้วัสดุทึบรังสีเป็นวิธีที่นิยมเนื่องจากมีขั้นตอนการสร้างชิ้นงานที่ไม่ยุ่งยากและให้ข้อมูลทางภาพรังสีที่แม่นยำ โดยแผ่นแบบสำหรับถ่ายภาพรังสีมีหลายชนิด เช่น แผ่นแบบที่ใช้ร่วมกับแผ่นตะกั่ว แผ่นแบบที่ใช้ร่วมกับคัตตาเปอร์ชาเรซินและแผ่นแบบที่ใช้ร่วมกับแนวนำปลอกโลหะ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงการจำแนกชนิดของแผ่นแบบสำหรับถ่ายภาพรังสีและแผ่นแบบศัลยกรรมที่ใช้กันทั้งในอดีตและปัจจุบัน ข้อดี ข้อเสียของแต่ละชนิดและรวมถึงขั้นตอนการสร้างแผ่นแบบชนิดต่างๆ Advances in implant dentistry have allowed for the predictable replacement of missing teeth. It is now common place to treatment plan partially and fully edentulous area in the mouth with implant-supported restoration. Therefore, comprehensive oral examination, radiographic examination, and multidisciplinary treatment plan are the keys of successful treatment, and these limit errors in implant placement procedure. Using a radiographic template with radiopaque maker is a popular method because the fabricating procedure is not complicated. Moreover, this technique makes an accurate data on radiographic film. In general, there are various types of radiographic template used in implant dentistry. For example, radiographic template with lead foil, radiographic template with gutta-percha resin, and radiographic template with metal sleeve guide are the most popular radiographic templates. This article aims to describe types of radiographic and surgical templates of dental implant, advantages and disadvantages of templates, including the procedures in template fabrication are also review and discussed.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแผ่นแบบสำหรับถ่ายภาพรังสีen_US
dc.subjectแผ่นแบบศัลยกรรมen_US
dc.subjectรากเทียมen_US
dc.subjectRadiographic templateen_US
dc.subjectsurgical templateen_US
dc.subjectdental implanten_US
dc.titleแผ่นแบบสำหรับถ่ายภาพรังสีและแผ่นแบบศัลยกรรมสำหรับงานรากเทียมen_US
dc.title.alternativeRadiographic and Surgical Template for Dental Implanten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.