Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะนารถ เอกวรพจน์en_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:47Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 145-153en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_366.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68895-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการที่มีเนื้อเยื่อยึดริมฝีปากเกาะในตำแหน่งที่สูงเกินไป สามารถนำไปสู่การจัดเรียงตัวของฟันที่ผิดปกติ เช่น เกิด ช่องว่างระหว่างฟันหน้าตัดแนวกึ่งกลาง ในกรณีที่เนื้อเยื่อ ยึดริมฝีปากมีขนาดหนาและใหญ่ทำให้ฟันห่างมากขึ้นโดย เฉพาะฟันหน้าบน รวมถึงปัญหาการออกเสียงพูด การตัด แต่งเนื้อเยื่อยึดริมฝีปากร่วมกับการจัดฟันถูกพิจารณาเป็น แผนการรักษาในกรณีดังกล่าว ในกรณีที่เนื้อเยื่อดังกล่าวมี ขนาดเล็ก สามารถทำการบูรณะฟันเพื่อปิดช่องฟันห่างร่วม กับการทำศัลยกรรมตกแต่ง เลเซอร์ทางทันตกรรมหลาย ชนิดถูกนำมาใช้เป็นเทคนิคทางเลือกในการผ่าตัดตกแต่ง เนื้อเยื่อยึดริมฝีปากนอกเหนือจากการใช้ใบมีดศัลยกรรม ด้วยข้อดี ได้แก่ แผลสะอาดปราศจากเลือด ไม่ต้องการการเย็บแผล การหายของแผลที่เร็ว เป็นต้น กรณีศึกษา ผู้ป่วยนี้เน้นในเรื่องการผ่าตัดเนื้อเยื่อยึดในริมฝีปากล่าง ด้วยเลเซอร์ทันตกรรมชนิดไดโอด ครอบคลุมถึง ลักษณะ อาการทางคลินิก การวินิจฉัยโรค เครื่องเลเซอร์ทันตกรรม เทคนิคการผ่าตัด การดูแลรักษาผู้ป่วย รวมถึง การติดตาม ประเมินผลการรักษา High attachment of labial frenum can lead to the mal-alignment of tooth such as midline diastema between anterior incisors. The thick broad fibrous attachment of frenum which increases the tooth separation has to be corrected by surgical removal and rearrangement of tooth alignment with orthodontic treatment. In case of thin and small fibrous band, the treatment plan could be diastema closure by filling materials with frenectomy. Recently, various kinds of dental laser have been used for frenectomy with advantage for sterilized, bloodless and stitchless wound with rapid healing. This case report focuses on frenectomy of lower labial frenum by using diode laser (GaAlAs laser diode). Furthermore, it also includes the clinical appearance, diagnosis, surgical technique, patient’s care and follow ups.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไดโอดเลเซอร์en_US
dc.subjectการตัดเนื้อเยื่อยึดริมฝีปากen_US
dc.subjectรายงานผู้ป่วยen_US
dc.subjectDiode laseren_US
dc.subjectFrenectomyen_US
dc.subjectCase reporten_US
dc.titleการผ่าตัดเนื้อเยื่อยึดริมฝีปากในผู้ป่วยผู้ใหญ่ด้วยไดโอดเลเซอร์ชนิดแกลเลียมอลูมิเนียมอาร์เซไนด์ (ความยาวคลื่น 808 นาโนเมตร)en_US
dc.title.alternativeLabial Frenum Removal in Adult Patient with GaAlAs Laser Diode (808 nm): A Case Reporten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.