Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68883
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พัทจารีย์ สุนิลหงษ์ | en_US |
dc.contributor.author | สุวรรณี ตวงรัตนพันธ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-16T07:36:46Z | - |
dc.date.available | 2020-07-16T07:36:46Z | - |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.citation | เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 35,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 35-43 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-6920 | en_US |
dc.identifier.uri | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_35_2_356.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68883 | - |
dc.description | เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม | en_US |
dc.description.abstract | การหายไปแต่กำเนิดของฟันพบในฟันกรามน้อยซี่ที่สองมากเป็นอันดับสองรองจากฟันกรามซี่ที่สาม มักพบสัมพันธ์กับการคงค้าง หลุดช้า หรือภาวะฟันยึดแข็งของฟันกรามน้ำนมซี่ที่สอง ส่งผลให้เกิดการล้มเอียงของฟันข้างเคียง การยื่นยาวของฟันคู่สบเข้ามาในช่องว่าง และเกิดปัญหาการสบฟันที่ไม่เหมาะสมตามมา แนวทางการรักษาหลักคือ การคงช่องว่างของฟันกรามน้ำนมซี่ที่สอง หรือการปิดช่องว่างของฟันกรามน้ำนมซี่ที่สอง ซึ่งต้องอาศัยการพิจารณาจากปัจจัยหลายด้าน ได้แก่ ภาวะฟันยึดแข็ง อายุและเพศ สภาวะของฟันกรามน้ำนมซี่ที่สอง สภาวะพิจารณาทางการจัดฟัน รวมถึงสภาวะของสันกระดูกขากรรไกรภายหลังการถอนฟันกรามน้ำนมซี่ที่สอง ทั้งนี้หากทันตแพทย์สามารถตรวจ ให้การวินิจฉัยได้ตั้งแต่ระยะชุดฟันผสม และ สามารถเลือกการรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย จะทำให้ความ สำเร็จของการรักษามีมากขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่ เกิดขึ้นได้ Second premolars are the most common congenital missing teeth secondarily to third molars, usually associated with prolonged retention, delayed exfoliation and ankylosis of primary second molars. Tipping of adjacent teeth and over-eruption of opposing teeth may be found with premolars missing, resulting in malocclusion of the affected dentition. Treatment of missing second premolars may be divided into 2 main categories: maintain space or close space of primary second molars. The decision depends on multiple factors, including: ankylosis; patient age and gender; the condition of the primary tooth; the orthodontic condition and the condition of the bone after extraction of the primary tooth. Early diagnosis of missing premolars can be obtained in mixed dentition for creating proper treatment plan, leading to higher success rate and lower complications of treatment. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การหายไปแต่กำเนิดของฟันกรามน้อยซี่ที่สอง | en_US |
dc.subject | การจัดการทางทันตกรรม | en_US |
dc.subject | Congenital missing of second premolar | en_US |
dc.subject | dental management | en_US |
dc.title | แนวทางการรักษาผู้ป่วยที่มีการหายของฟันกรามน้อยล่างซี่ที่สองแต่กำเนิด | en_US |
dc.title.alternative | Management of congenitally missing mandibular second premolars | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.