Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์en_US
dc.contributor.authorปานตา อภิรักษ์นภานนท์en_US
dc.contributor.authorดาเรศ ชูศรีen_US
dc.contributor.authorเรวดีทรรศน์ รอบคอบen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:31Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:31Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563), 255-267en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240753/164080en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68832-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการวิจัย การประเมินผลโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินผล 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพและประชาชน ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ และ 2)โครงการการบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อป้องกัน รักษา ฟื้นฟูโรคหลอดเลือดหัวใจแบบครบวงจร การวิจัยยึดแนวคิด CIPP Model ด้วยวิธีการแบบผสมผสานวิธีเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ในเชิงคุณภาพใช้วิธีการสนทนากลุ่ม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ และจากการวิเคราะห์เอกสาร ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้ฝึกอบรมพยาบาลแกนนำ 570 คน 2) ได้จัดทำเอกสารคู่มือ และส่งให้กลุ่มเป้าหมาย 3) การลงพื้นที่เยี่ยมให้คำปรึกษา 6 จังหวัด 4) ได้จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่พยาบาลแกนนำและจิตอาสาภาคประชาชน 187 คน และ5) ได้ประเมินผลโครงการทั้ง 2 โดยมีข้อเสนอแนะ คือ 1) ควรพัฒนาโครงการฝึกอบรมให้ความรู้แก่พยาบาลและ อสม. โดยค้นหารูปแบบและวิธีการฝึกอบรมแบบเข้มแก่ อสม. ในการคัดกรองโรคหลอดเลือดหัวใจด้วย Rama egat และ 2) ส่งเสริมให้จัดองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลโรคหัวใจ รวมทั้งการถ่ายทอดและประยุกต์ใช้ความรู้อย่างเต็มที่ The research, “Evaluation of the potential development project of the professional network in cardiovascular care” aimed to evaluate 2 projects 1) development of potential professional network and people in caring coronary disease patient, and 2) an integration of all stakeholder for prevention, cure and rehabilitation comprehensively in coronary artery diseases. The CIPP Model was applied in mixed methods. In qualitative method by using focused group interview and observation by participation. Quantitative method by using questionnaire and documentary analysis. The findings includes; 1) trained 570 core nurses, 2) developed hand books and sent to the target institutes, 3) site visited with providing consultation in 6 provinces, 4) sat up forum for sharing knowledge for 187 nurses and volunteers people, and 5) evaluated the 2 projects. The suggestions were; 1) to develop training programs for nurses and health volunteers, by searching intensive training for health volunteers to be able to screen with Rama egat, and 2) to support the learning organization and knowledge management in relation to nursing coronary disease patients, including transfer and fully apply the knowledge.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการประเมินผลen_US
dc.subjectพัฒนาศักยภาพen_US
dc.subjectเครือข่ายวิชาชีพen_US
dc.subjectการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจen_US
dc.titleการประเมินผล โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจen_US
dc.title.alternativeEvaluation of the Potential Development Project of the Professional Network in Cardiovascular Careen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.