Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจริยา นพเคราะห์en_US
dc.contributor.authorโรจนี จินตนาวัฒน์en_US
dc.contributor.authorทศพร คำผลศิริen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:29Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:29Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 251-261en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241817/164600en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68775-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractโรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่จำเป็นต้องจัดการตนเอง เพื่อควบคุมอาการของโรค ความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการจัดการตนเอง การวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพ การจัดการตนเอง และความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลโพทะเล จังหวัดพิจิตร จำนวน 88 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อยู่ในระดับสูง และความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจัดการตนเองในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 0.54 , p < .01) ข้อค้นพบนี้เป็นประโยชน์โดยตรงสำหรับบุคลากรทางสุขภาพ ในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองให้กับผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Diabetes is a chronic disease that needs self-management to control the symptoms of the disease. Health literacy is an important factor affecting self-management. This correlation descriptive research aimed to investigate health literacy, self-management, and the relationship between health literacy and self-management among older persons with type 2 diabetes mellitus. Participants were the older persons with type 2 diabetes mellitus who visited a non-communicable diseases clinic at Phothale Hospital, Phichit Province. The 88 participants were selected using convenience sampling from November to December 2016. The research tools used in this study were a demographic data recording forms, health literacy and self-management behaviors questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s Correlation Coefficient. The results showed that the health literacy and self-management were at a high level. Health Literacy had a positive relationship with self-management at a moderate level with statistical significance (r = 0.54 , p < .01). The results from this study demonstrate the direct benefits for health care professionals in promoting health literacy and self-management among older persons with type 2 diabetes mellitus.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพen_US
dc.subjectการจัดการตนเองen_US
dc.subjectผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.title.alternativeHealth Literacy and Self-Management in Older Persons with Type 2 Diabetes Mellitusen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.