Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรัชชานนท์ กุศลสงเคราะห์กุลen_US
dc.contributor.authorวุฒิชัย เคนไชยวงศ์en_US
dc.contributor.authorปองพล พงไธสงค์en_US
dc.contributor.authorวาสนา ศิริแสนen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:27Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:27Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 36,2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 257-267en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/238749/165607en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68730-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractกุ้งขาวแวนนาไม (L. vannamei) เป็นสายพันธุ์ที่มีการเพาะเลี้ยงมากที่สุดในโลก ทำให้เมื่อเกิดโรคระบาดจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุ้ง โดยมีโรคจุดขาวเป็นโรคที่สำคัญ เนื่องจากอัตราการป่วย และอัตราการตายสูง ในปัจจุบันมีวิธีการตรวจหาและวินิจฉัยโรคจุดขาวที่แนะนำ คือ ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสเพื่อวินิจฉัยเบื้องต้นและยืนยัน เนื่องจากมีความไวและจำเพาะต่อเชื้อและสามารถตรวจได้ในกุ้งเกือบทุกระยะ หากเป็นวิธีการสังเกตอาการทางคลินิก วิธีการทางมหพยาธิวิทยา จุลพยาธิวิทยา ควรได้รับการวินิจฉัยยืนยันด้วยวิธีทางภูมิคุ้มกัน หรือวิธีทางโมเลกุล เช่น การตรวจหาแอนติเจนแอนติบอดี ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส LAMP และ ISH ส่วนวิธีกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน วิธีชีววิเคราะห์ และการเพาะเลี้ยงเซลล์ สามารถตรวจเพื่อยืนยันได้แต่ไม่แนะนำเนื่องจากมีความไวต่อเชื้อต่ำ White shrimp (Litopenaeusvannamei) is the most shrimp cultured in the worldwhendisease outbreaks that will affect the shrimp farming industry. White spot syndrome is an important disease due to high morbidity rate and high mortality rates. Currently, there are methods for detecting and diagnosing white spots syndrome. Recommendedmethod is polymerase chain reaction (PCR)for screening and confirmation diagnosis according to high sensitivity and high specificity and can be detected in shrimp almost every stage. The method by using parameter includingclinical sign, gross pathology, histopathologyshould be diagnosed with an immunological method or molecular techniques such as Polymerase Chain Reaction (PCR), Antigen-antibody detection methods,DNA sequencing, Fluorescence in-situ hybridisation (FISH) and Loop-mediated isothermal amplification techniques (LAMP). Other the transmission electron microscope, biological analysis method and cell culture can detecting and diagnosing for confirmation, but not recommended due to their low susceptibility.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกุ้งขาวen_US
dc.subjectโรคจุดขาวen_US
dc.subjectการวินิจฉัยโรคen_US
dc.subjectวิธีการทางอณูพันธุศาสตร์en_US
dc.titleวิธีการทางอณูพันธุศาสตร์สำหรับการวินิจฉัยโรคจุดขาวในกุ้งขาวแวนนาไมen_US
dc.title.alternativeMolecularGeneticMethods for Diagnosis ofWhite Spot Syndrome in White Shrimp (Litopenaeus vannamei)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.