Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิลาสินี รัตนพันธุ์en_US
dc.contributor.authorรัฐพล ฉัตรบรรยงค์en_US
dc.contributor.authorพิจิตรา แก้วสอนen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:27Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:27Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 36,2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 177-185en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/201798/165613en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68719-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractศึกษาวิธีการกระตุ้นความงอกของเมล็ดมะละกอพันธุ์แขกดำเกษตรเพื่อให้เมล็ดมีความงอกและความแข็งแรงสูง โดยแช่เมล็ดในน้ำ reverse osmosis (RO) สารละลายกรดจิบเบอเรลลิก (GA3) และสารละลายกรดซาลิไซลิก (SA) ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ เป็นเวลา 16 ชั่วโมง วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มี 7 กรรมวิธี ได้แก่ น้ำ RO สารละลาย GA3 ความเข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อลิตร และสารละลาย SA ความเข้มข้น 50, 100, 250 และ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร เปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ได้กระตุ้นความงอก (ชุดควบคุม) พบว่าการแช่เมล็ดในสารละลาย GA3 ความเข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อลิตร ไม่มีผลต่อความงอกเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดในชุดควบคุม แต่กรรมวิธีนี้มีผลทำให้เวลาเฉลี่ยในการงอกเร็วกว่าเมล็ดในชุดควบคุม (ประมาณ 1 วัน) นอกจากนี้การแช่เมล็ดในสารละลาย SA ทุกความเข้มข้นไม่มีผลต่อความงอกเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดในชุดควบคุม The methods of germination enhancement of ‘Khaek Dam Kaset’ papaya seed to enhance the germination and seed vigor were studied. Seeds were soaked in reverse osmosis (RO) water, gibberellic acid (GA3) solution and salicylic acid (SA) solution in different concentrations for 16 hours. The experiment was designed in a completely randomized design composed of 7 treatments: RO water, 500 mg/L GA3solution and SA solution at 50, 100, 250 and 500 mg/L compared with the untreated seed (control). The results showed that soaked seeds in 500 mg/L GA3solution had no effect on germination when compared with control, but these treatments had faster mean germination time (MGT) than control (approximately 1 day). Moreover, soaked seeds in all concentrations of SA solution did not affect on germination, when compared with control.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความเร็วในการงอกen_US
dc.subjectเวลาเฉลี่ยในการงอกen_US
dc.subjectการกระตุ้นความงอกen_US
dc.titleผลของสารละลายกรดซาลิไซลิกต่อความงอกและความแข็งแรงของเมล็ดมะละกอพันธุ์แขกดำเกษตรen_US
dc.title.alternativeEffects of Salicylic Acid and GA3Solutions on Germination and Vigor of ‘Khaek Dam Kaset’ Papaya Seeden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.