Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกรรณิการ์ พงษ์รูปen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:26Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:26Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่สัตวแพทยสาร 12,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2557) 179-189en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/vis/article/view/146497/108000en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68702-
dc.descriptionเชียงใหม่สัตวแพทยสาร เป็นวารสารเผยแพร่เผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น บทความต้นฉบับ (Original article) บทความปริทัศน์ (Review article) รายงานฉบับย่อ (Short communication) และรายงานสัตว์ป่วย (Case report) ที่เกี่ยวข้องกับทางด้านสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Science) และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสัตว์ (Animal Science and Technology) ได้แก่ ชีววิทยา สรีรวิทยา จุลชีววิทยา พยาธิวิทยา โภชนาการศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ พันธุศาสตร์ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระบาดวิทยาและแนวทางสุขภาพหนึ่งเดียวen_US
dc.description.abstractการทําหน้าที่ปกป้องสิ่งแปลกปลอมของผิวหนัง (Skin barrier function) เกิดจากเซลล์ในชั้น Stratum corneum ที่มีการเรียงตัวกันหลายชั้นเซลล์และยึดติดกันด้วยไขมันภายนอกเซลล์ที่เรียกว่า Extracellular lipid lamellae (ELL) ไขมัน ELL ประกอบด้วยเซราไมด์ (Ceramides; CERs), คลอเรสเตอร์รอล์ (Chloresterol) และกรดไขมันอิสระ (Free fatty acid) พบว่าในมนุษย์และสัตว์ป่วยที่เป็นโรคภูมิแพ้ผิวหนังนั้นเซราไมด์ที่ผิวหนังมีการเปลี่ยนแปลงไปทั้งโครงสร้างและปริมาณแตกต่างกับผิวหนังปกติอย่างมีนัยสําคัญการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทําให้มีการเพิ่มขึ้นของการสูญเสียน้ำผ่านทางผิวหนัง (Transepidermal water loss; TEWL) และการลดลงของเซราไมด์ที่ผิวหนังยังเพิ่มโอกาสการแทรกซึมของสารก่อภูมิแพ้ในสิ่งแวดล้อมให้เข้าสู่ร่างกายและกระตุ้นปฏิกิริยาการแพ้ที่ผิวหนังให้เกิดได้ง่ายยิ่งขึ้นดังนั้นการเสริมความแข็งแรงของการทําหน้าที่ปกป้องสิ่งแปลกปลอมของผิวหนังโดยเฉพาะการเสริมเซราไมด์ที่ผิวหนังเป็นอีกหนึ่งสิ่งสําคัญที่สัตวแพทย์ไม่ควรมองข้ามในการวางแผนการรักษาโรคภูมิแพ้ผิวหนังในสุนัข The outermost layer of epiderm is as known Stratum corneum establishes skin barrier function. Stratum corneum is composed of lining up of many fl attened corniocytes that adhere to each other by extracellular lipid lamellae (ELL). There are three major lipids components of ELL that are ceramides (CERs), chloresterol, and free fatty acid (FFA). Structural and function impairment of CERs represent in human and animal suffering with atopic dermatitis, cause of increasing transepidermal water loss (TEWL), increasing percutaneous invasive of environmental allergen, and easier to induce skin hypersensitivity reaction. Thus, skin barrier repair, especially additional topical CERs, is interesting in veterinarian now a day and may benefi t to be an alternative treatment in canine atopic dermatitis.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสัตวแพทศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไขมันen_US
dc.subjectโรคภูมิแพ้ผิวหนังen_US
dc.subjectสุนัขen_US
dc.subjectเซราไมด์en_US
dc.titleความผิดปกติของไขมันที่ผิวหนังของโรคภูมิแพ้ผิวหนังen_US
dc.title.alternativeLipid abnormalities in atopic dermatitisen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.