Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68686
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอกชัย เกษทรัพย์en_US
dc.contributor.authorชยานนท์ หรรษภิญโญen_US
dc.contributor.authorปานนท์ ลาชโรจน์en_US
dc.contributor.authorกรพล สายเชื้อen_US
dc.date.accessioned2020-05-20T04:41:51Z-
dc.date.available2020-05-20T04:41:51Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 33-41en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/04.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68686-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการประเมินความเสียหายของอาคารในพื้นที่เทศบาลนครเชียงใหม่ก่อนและหลังการเสริมกำลังจากเหตุแผ่นดินไหวคาดการณ์ โดยเริ่มจากเก็บข้อมูลลักษณะอาคารต่างๆ ทั้งหมด 80,290 อาคาร หลังจากนั้นจะจำลองสถานการณ์ของแผ่นดินไหวในตำแหน่งของรอยเลื่อนที่อยู่ใกล้กับเทศบาลนครเชียงใหม่มากที่สุด จากข้อมูลความยาวของรอยเลื่อน 9.69 กิโลเมตร สามารถประมาณขนาดของแผ่นดินไหวที่อาจจะเกิดขึ้นได้เท่ากับ 6.3 แมกนิจูดที่พิกัดศูนย์กลาง ละติจูด 18.901 และ ลองติจูด 98.916 และได้ใช้สมการค่าลดทอนความเร่งของพื้นดินเพื่อคำนวณค่าความเร่งที่ฐานอาคารในแต่ละตำแหน่งของอาคาร ต่อจากนี้ได้นำค่าความเร่งพิจารณาร่วมกับเส้นโค้งกำลัง (Capacity curve) เพื่อหาพิกัดการตอบสนอง และประเมินระดับความเสียหายจากฟังก์ชั่นระดับความเปราะบางของอาคาร (Fragility Function) ต่อไป จากสถานการณ์แผ่นดินไหวที่จำลองดังกล่าว ส่งผลทำให้อาคารจำนวน 80,290 อาคาร พื้นที่อาคารทั้งหมด 22.33 ล้านตารางเมตร เกิดการพังทลายโดยสมบูรณ์คิดรวมเป็นพื้นที่ 7.29 ล้านตารางมตร และหากมีการเสริมกำลังอาคารทุกหลัง พบว่าพื้นที่รวมของอาคารเกิดการพังทลายโดยสมบูรณ์ลดลงเหลือ 2.70 ล้านตารางเมตร This research was aimed to perform damage assessment of buildings in Chiang Mai municipal area before and after strengthening under an anticipated earthquake. Building information in the study area was first collected. Then, the nearest fault was considered for making an earthquake scenario. The assumed earthquake was estimated at 6.3 Magnitude according to the fault length at the epicentre of Latitude and Longitude point of (18.901,98.916). Then, an attenuation model was adopted to estimate the peak ground acceleration at every building. Next, the performance of buildings was estimated considering the acceleration with the building capacity curve. Then, the fragility function was adopted for the determination of the damage level. From the earthquake simulation, 80,290 buildings in the area which are 22.33 million square meters of the functional area, the complete damage was 7.29 million square meters. In the case of seismic strengthening for all buildings, the complete damage area was reduced to 2.70 square meters.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.subjectเสริมกำลังen_US
dc.subjectประเมินความเสียหายen_US
dc.subjectการวิเคราะห์เชิงพื้นที่en_US
dc.titleการประเมินความเสียหายของอาคารในพื้นที่เทศบาลนครเชียงใหม่ก่อนและหลังการเสริมกำลังจากเหตุแผ่นดินไหวคาดการณ์en_US
dc.title.alternativeDamage Assessment of Buildings in Chiang Mai Municipal Area Before and After Strengthening Under an Anticipated Earthquakeen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.