Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมงคล กิตติญาณขจรen_US
dc.contributor.authorมณีมณฑ์ วงหาจักen_US
dc.contributor.authorมัทนา สุสมบูรณ์en_US
dc.date.accessioned2020-05-20T04:41:51Z-
dc.date.available2020-05-20T04:41:51Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 1-11en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_1/01.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68683-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเทคนิค การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอย่างรวดเร็ว (Single Minute Exchange of Die: SMED) และ การกำจัด การรวมกัน การจัดเรียงใหม่และ การทำให้ง่ายขึ้น (Eliminate, Combine, Rearrange and Simplify: ECRS) มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์หาแนวทางการลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักรเพื่อลดเวลาจากความสูญเปล่าในกระบวนการบรรจุผลิตภัณฑ์หัวเชื้อเครื่องดื่มชนิดผง จากการศึกษาพบว่ากระบวนการบรรจุผลิตภัณฑ์ที่ผสม แล้วลงซอง มีเวลาการทำงานที่สูญเปล่าจากขั้นตอนการเปลี่ยนม้วนกระดาษอะลูมิเนียมฟอยล์สูงที่สุด และมีสาเหตุหลักมาจากการขาดขั้นตอนการทำงานมาตรฐาน ดังนั้นหลังจากการนำแนวทางการปรับปรุงด้วยการเปลี่ยนงานในมาเป็นงานนอกตามเทคนิด SMED และการจัดเรียงงานใหม่ กำจัดงานที่ไม่จำเป็นออกและทำให้งานที่มีทำได้ง่ายขึ้นโดยการใช้อุปกรณ์ช่วยตามหลักการ ECRS สามารถทำให้เวลาสูญเปล่าในขั้นตอนการเปลี่ยนม้วนกระดาษอะลูมิเนียมฟอยล์ลดลง 565 วินาทีต่อครั้ง หรือคิดเป็น 67% จากเวลาเดิมก่อนการปรับปรุงโดยสามารถเพิ่มกำลังการผลิตได้ 16,143 ซองต่อวัน The objective of this study is to apply single minute exchange of die (SMED) and Eliminate, Combine, Rearrange and Simplify (ECRS) techniques to analyse and provide improvement methods in order to reduce powdered drink Mix process waste time. From the study result, the highest packing process waste time is the time for aluminum foil changed operation. The major root cause came from lacking of working standards. Therefore, after adoption of SMED technique and ECRS technique such as rearrange, eliminate, and simplify, waste time of aluminum foil changed operation was reduced 565 sec/time that was 67% reduction from original time. Moreover, Total capacity of packing process was increased 16,143 unit/dayen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเทคนิคการปรับเครื่องจักรอย่างรวดเร็วen_US
dc.subjectการปรับตั้งเครื่องจักรen_US
dc.subjectการลดความสูญเปล่าen_US
dc.subjectเทคนิค ECRSen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิค การปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอย่างรวดเร็ว และ ECRS เพื่อลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักร : กรณีศึกษา กระบวนการผลิตหัวเชื้อเครื่องดื่มชนิดผงen_US
dc.title.alternativeApplication of Single Minute Exchange of Die and ECRS Techniques to Reduce Machine Set up Time: A Case Study of Powdered Drink Mix Processen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.