Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุญส่ง ประทีปสว่างวงศ์en_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 39,2 (พ.ค.-ก.ย. 2561) 13-29en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_482.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67459-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการนำวิศวกรรมย้อนกลับ ซีเอ็นซีและการสร้างต้นแบบเร็วซึ่งเป็นเทคโนโลยีดิจิทัลทางอุตสาหกรรมมาประยุกต์ใช้ในทางทันตกรรมมีมาตั้งแต่ราวสามทศวรรษที่ ผ่านมา เทคโนโลยีดิจิทัลถูกนำเข้ามาแทนที่งานที่ต้องใช้ฝีมือมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมถึงการผลิตชิ้นงานบูรณะจากชีววัสดุใหม่ ๆ ที่ไม่สามารถผลิตด้วยวิธีดั้งเดิมได้ เทคโนโลยีเหล่านี้ทำให้มีพัฒนาการของศาสตร์ทางทันตแพทย์หลายสาขา รวมทั้งสาขาทันตกรรมบูรณะและกำลังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษาและการรักษาทางทันตกรรม วารสารทางทันตกรรมจำนวนมากตีพิมพ์บทความ งานวิจัยเกี่ยวกับทันตกรรมดิจิทัล ห้องปฏิบัติการทางทันตกรรมใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการผลิตชิ้นงานบูรณะมากขึ้น โรงเรียนทันตแพทย์ส่วนหนึ่งเริ่มบรรจุเทคโนโลยทันตกรรมดิจิทัลบางอย่างในหลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิตหรือสร้างหลักสูตรใหม่สำหรับหัวข้อนี้โดยเฉพาะเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่กำลังดำเนินอยู่และสามารถนำวิธีการใหม่ ๆ นี้ไปใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ทันตแพทย์ควรมีความรู้พื้นฐานของเทคโนโลยีดังกล่าวบทความปริทัศน์นี้นำเสนอหลักการทำงานของเทคโนโลยีเหล่านี้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectทันตกรรมบูรณะen_US
dc.subjectวิศวกรรมย้อนกลับen_US
dc.subjectสแกนเนอร์ ในช่องปากen_US
dc.subjectแคด/แคมen_US
dc.subjectซีเอ็นซีen_US
dc.subjectการสร้างต้นแบบเร็วen_US
dc.titleการใช้วิศวกรรมย้อนกลับ เครื่องคอมพิวเตอร์นิวเมอริคัลคอนโทรลและเทคโนโลยีการสร้างต้นแบบเร็วในทางทันตกรรมบูรณะen_US
dc.title.alternativeReverse Engineering, Computer Numerical Control Machining and Rapid Prototyping In Restorative Dentistryen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.