Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67452
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ ชัยชนะen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 10,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562) 59-70en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/130765/153324en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67452-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ได้เผยแพร่บทความทางด้านศิลปกรรม ในระบบวารสารวิจิตรศิลป์ออนไลน์ (ThaiJO) มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการนำเสนอในครั้งนี้ได้แสดงแนวคิดที่เจาะลึกในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติในมิติของภูมิวัฒนธรรมที่ลุ่มน้ำแม่ตาน อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปางโดยการสืบค้นหารากเหง้าของมรดกในพิธีกรรมและความเชื่อที่ตกทอดมาสู่ผู้คนที่นี่ในปัจจุบัน ตามหลักฐานการค้นพบทางโบราณคดีเมื่อ 5,000 ปีมาแล้ว น้ำแม่ตานมีกำเนิดมาจากเทือกเขาขุนตานกั้นระหว่างจังหวัดลำปางกับจังหวัดลำพูนและไหลผ่านชุมชนต้นน้ำที่อำเภอห้างฉัตรและไหลลงน้ำแม่วังที่อำเภอเกาะคาชุมชนผู้ใช้น้ำตั้งแต่อดีตได้สร้างความเชื่อและกลายเป็นรูปแบบประเพณีคือการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผู้ดูแลแหล่งต้นน้ำคือเจ้าพ่อขุนตานและได้สร้างตำนานและสัญลักษณ์มารองรับความเชื่อว่าเจ้าพ่อขุนตานคือช้างโดยดูจากพิธีกรรมการเลี้ยงผีก่อนฤดูทำนาและสร้างศาลที่ใช้คือการบูชาช้างเผือกนี่คือร่องรอยของความเชื่อของผู้คนต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์นั่นคือเทพเจ้าที่มีอำนาจปกป้องแหล่งน้ำของผู้คน ดังนั้นการสร้างเรื่องราวให้สอดคล้องกับภูมิประเทศจึงเป็นที่มาของคำว่าภูมิวัฒนธรรมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คนใช้น้ำได้ยอมรับกฎกติกาของระบบเหมืองฝายและมีกฎจารีตที่ใครก็ไม่ควรผ่าฝืนเพราะเมื่อมีการละมิดผู้คุมกฎคือเจ้าพ่อขุนตานจะมองเห็นและมีบทลงโทษผู้นั้นต่อไป จึงทำให้ชุมชนอยู่กันได้อย่างสันติในการใช้น้ำต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภูมิวัฒนธรรมen_US
dc.subjectเขาขุนตานen_US
dc.subjectตำนานท้องถิ่นen_US
dc.subjectผีขุนห้วยen_US
dc.subjectพิธีกรรมเลี้ยงผีen_US
dc.titleหน้าแรก บทความย้อนหลัง ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (2019): กรกฏาคม - ธันวาคม 2562 Articles คุณค่าของพิธีกรรมเลี้ยงผีเจ้าพ่อขุนตานกับการแก้ปัญหาของชุมชนผู้ใช้น้ำแม่ตานในจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeThe values of spirits exhibition as resolution of water conflict management in Mae Tan River, Lampang Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.