Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุฬาลักษณ์ ฟักแก้วen_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ บุญเชียงen_US
dc.contributor.authorพนิดา จันทโสภีพันธ์en_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:49Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:49Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46,3 (ก.ค.-ก.ย. 2562) 130-141en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218550/151370en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67428-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractชายวัยทอง เป็นช่วงหนึ่งของวงจรชีวิตมนุษย์ ที่มีการเสื่อมของร่างกายตามอายุที่มากขึ้น และพบปัญหาด้านสุขภาพ เนื่องมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นการทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดพฤติกรรมจะช่วยให้สามารถส่งเสริมให้บุคคลมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมได้การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ชายวัยทอง ที่มีอายุระหว่าง 40-59 ปี อาศัยอยู่ที่อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยการสุ่มแบบเจาะจง จำนวน 110 คน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยสร้างจากการทบทวนวรรณกรรม โดยใช้แนวคิดรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษามีความตรงของเนื้อหา เท่ากับ .96 และมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .71 ถึง .86 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมนผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (x_ = 94.85,S.D. = 10.98) โดยด้านพฤติกรรมการรับประทานอาหารมีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด (x_ = 25.75, S.D. = 3.69) ส่วนคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านพฤติกรรมการออกกำลังกาย (x_ = 15.22, S.D. = 3.45) ส่วนปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยการรับรู้สมรรถนะของตน ปัจจัยด้านความรู้สึกที่มีต่อการปฏิบัติพฤติกรรม ปัจจัยอิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และปัจจัยอิทธิพลด้านสถานการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวก กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .324, p< .001, r = .620, p< .001, r = .674, p< .001, r = .580, p< p< .001, r = .591, p< p< .001) ตามลำดับ แต่ปัจจัยการรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์เชิงลบ กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.429, p< p< .001) ผลการวิจัยในครั้งนี้ สามารถเป็นข้อมูลพื้นฐานให้กับหน่วยงานทางด้านสุขภาพ ในการส่งเสริมชายวัยทองให้มีการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสมต่อไปได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพของชายวัยทองen_US
dc.subjectชายวัยทองen_US
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชนen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Health–Promoting Behaviors Among Andropause in Communityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.