Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67381
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุภาพร ภัสสร | en_US |
dc.contributor.author | สุชาดา สุดแสง | en_US |
dc.contributor.author | คชาภรณ์ ทองดอนยอด | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.available | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเกษตร 36, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2563), 59-68 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0841 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/234702/161395 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67381 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการแสดงออกของยีน Phenylalanine ammonia lyase (PAL) และปริมาณสารออกฤทธิ์ในกลุ่มฟีนอลิกในหนอนตายหยาก Stemona collinsae Craib. โดยนำต้นหนอนตายหยากที่เพาะเลี้ยงแบบปลอดเชื้อมากระตุ้นด้วยสารกระตุ้นไคโตซานและเมทิลจัสโมเนท ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ นาน 1 และ 2 สัปดาห์ พบว่าการแสดงออกของยีน PALของต้นหนอนตายหยากตอบสนองต่อการกระตุ้นต่างกันทั้งส่วนรากและต้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นสารกระตุ้น ระยะเวลาและอายุของต้นหนอนตายหยากที่ใช้ในการทดลองโดยส่วนของต้นหนอนตายหยากอายุ 12เดือน มีระดับการแสดงออกของยีน PALสูงที่สุดและมากกว่าระดับการแสดงออกของยีนที่ตรวจพบในต้นควบคุมและส่วนของราก 3.93 เท่า เมื่อกระตุ้นด้วยไคโตซานที่ความเข้มข้น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร และพบปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด 73.01 มิลลิกรัมกรดแกลลิคต่อ 100 กรัมน้ำหนักสด ซึ่งเพิ่มขึ้น 1.2 เท่า เมื่อเทียบกับชุดควบคุมในขณะที่การกระตุ้นด้วยเมทิลจัสโมเนทความเข้มข้น 0.3ไมโครโมลาร์ นาน 1 สัปดาห์ สามารถเพิ่มการแสดงออกของยีน PAL ในส่วนของรากได้สูงสุด 8.66 เท่า และพบปริมาณของสารฟีนอลิกทั้งหมด 88.37 มิลลิกรัมกรดแกลลิคต่อ 100 กรัมน้ำหนักสด ซึ่งเพิ่มขึ้น 1.2 เท่า เมื่อเทียบกับชุดควบคุม สำหรับการศึกษาผลของอายุการเจริญของหนอนตายหยากเปรียบเทียบระหว่าง 6 กับ 12 เดือน ที่กระตุ้นด้วยไคโตซานความเข้มข้น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร และ เมทิลจัสโมเนทความเข้มข้น 0.3 ไมโครโมลาร์ ระยะเวลา 1 สัปดาห์ ต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกกลับไม่พบความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ฟีนิลอะลานีน | en_US |
dc.subject | แอมโมเนีย | en_US |
dc.subject | ไลเอส | en_US |
dc.subject | สารประกอบฟีนอลิก | en_US |
dc.subject | สารกระตุ้น | en_US |
dc.subject | หนอนตายหยาก | en_US |
dc.title | ผลของสารไคโตซานและเมทิลจัสโมเนทต่อการแสดงออกของยีนฟีนิลอะลานีนแอมโมเนีย ไลเอส และการผลิตสารประกอบฟีนอลิกในหนอนตายหยากในสภาพปลอดเชื้อ | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Chitosan and Methyl Jasmonate on Phenylalanine Ammonia Lyase (PAL) Gene Expression and Phenolic Compound Production in In Vitro Plantlets of Stemona collinsae Craib. | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.