Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจักรกฤษ อ่อนชื่นจิตรen_US
dc.contributor.authorจักรี ศรีนนท์ฉัตรen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 224-235en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/18.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67378-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractในอุตสาหกรรมการผลิตจำเป็นต้องมีการตรวจสอบคุณภาพในทุกขั้นตอนรวมทั้งอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ก็เช่นกัน การสร้างแผ่นวงจรพิมพ์ (PCB) เป็นขั้นตอนแรกๆ ในการผลิตขชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องทำการตรวจสอบคุณภาพอย่างละเอียดทำให้สามารถคัดแยกชิ้นงานที่เสียออกแต่เนิ่นๆ ไม่ต้องปล่อยให้เสร็จสิ้นกระบวนการถึงจะมีการตรวจเช็ค เพราะถึงเวลานั้นชิ้นงานจะมีมูลค่าที่สูงทำให้สูญเสียต้นทุนการผลิตมาก การตรวจสอบคุณภาพแผ่นวงจรพิมพ์อัตโนมัติโดยใช้การประมวลผลภาพแบบดิจิตอลเป็นวิธีการที่นำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการตรวจสอบด้วยสายตามนุษย์เพราะสามารถช่วยให้ประเมินได้อย่างละเอียด เที่ยงตรง และรวดร็วกว่า ขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญในการประมวลผลภาพแบบดิจิตอลที่ใช้คือการแบ่งส่วนภาพ ซึ่งหากกระบวนการนี้มีความผิดพลาดจะทำให้ประสิทธิภาพในการตรวจสอบลดลงด้วย งานวิจัยนี้นำเสนอการเปรียบเทียบเทคนิดการแบ่งส่วนภาพสำหรับงานตรวจสอบคุณภาพแผ่นวงจรพิมพ์ ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธีการดังนี้ 1) Global Thresholding 2) Adaptive Thresholding 3) K-means Clustering และ 4) Fuzzy C-means Clustering โดยภาพแผ่นวงจรพิมพ์จำนวน 500 ภาพ ถูกนำมาใช้ในการทดลองและใช้ตัวชี้วัด Intersection over Union, Accuracy, Precision, Recall และ Elapse Time ในการประเมินหาประสิทธิภาพของ 4 วิธีการข้างตั้น ผลการทดลองพบว่าวิธีการจัดกลุ่มแบบ Fuzzy C-means มีค่าความถูกต้องมากที่สุด คือ 98.54% รองลงมาคือวิธีการจัดกลุ่มแบบ K-means คือ 97.43% ถึงแม้วิธีการจัดกลุ่มแบบ Fuzzy C-meanร จะมีค่าความถูกต้องมากที่สุด แต่ก็ต้องใช้วลาในการประมวลผลมากเช่นกัน คณะผู้วิจัยจึงได้ทำการปรับปรุงวิธีการจัดกลุ่มแบบ K-means ซึ่งมีความถูกต้องรองลงมาแต่ใช้เวลาในการประมวลน้อยกว่า โดยทำการแบ่งกลุ่มย่อยด้วยวิธีการกัดกลุ่มแบบ K-means จำนวน 2 รอบ ผลการวิจัยที่ได้จากการปรับปรุงวิธีการจัดกลุ่มแบบ K-means ดังกล่าว จะได้ค่าความถูกต้องมากขึ้นอยู่ที่ 98.38% แต่ก็ใช้เวลาในการประมวลผลมากขึ้นอีกเล็กน้อย และเลือกใช้วิธีการจัดกลุ่มแบบ K-means ที่ปรับปรุงขึ้นนี้เป็นวิธีการแบ่งส่วนภาพที่เหมาะสมกับการตรวจสอบคุณภาพของแผ่นวงจรพิมพ์ในงานวิจัยต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการแบ่งส่วนภาพen_US
dc.subjectการประมวลผลภาพen_US
dc.subjectการตรวจสอบคุณภาพแผ่นวงรพิมพ์en_US
dc.subjectเทรชโฮลค์en_US
dc.subjectการจัดกลุ่มen_US
dc.titleการเปรียบเทียบเทคนิคการแบ่งส่วนภาพสำหรับตรวจสอบคุณภาพแผ่นวงจรพิมพ์en_US
dc.title.alternativeComparison of Image Segmentation Techniques for PCB Quality Inspectionen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.