Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67376
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุรีพร วงศ์จันดาen_US
dc.contributor.authorจักรกฤษณ์ อัมพุชen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 236-255en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/19.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67376-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractไทเทียมเนียมไดออกไซด์ตรึงบนแร่ดินมอนต์มอริลโลในต์ (TiO2-MMt) ถูกเตรียมและใช้เพื่อกำจัดสีมาลาไคท์กรีน (MG) จากสารละลาย นำ TiO2-MMt ที่เตรียมได้ไปวิเคราะห์คุณสมบัติด้วยเทคนิดต่างๆ ได้แก่ พื้นที่ผิวจำเพาะด้วยวิธีของ BET และขนาดรูพรุนเฉลี่ยด้วยวิธีของ BH ศึกษาลักษณะสัณฐานด้วยภาพถ่าย SEM ศึกษาหมู่ฟังก์ชันที่สำคัญด้วยเทคนิค FTIR และวิเคราะห์โครงสร้างผลึกด้วยเทคนิค XRD การทดลองแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก ศึกษาการกำจัดสี MG ด้วยกระบวนการดูดชับ พบว่า TiO2-MMt มีประสิทธิภาพการกำจัดสี MG สูงสุดเท่ากับ 97% ภายใต้ภาวะ pH 5.0 เวลาสัมผัส 240 นาที ความเข้มขึ้นเริ่มต้น 300 mg/L และอุณหภูมิ 55C ไอไซเทอมการดูดชับมีความสอดคล้องกับสมการแลงเมียร์ ผลการทดลองเชิงจลนพลศาสตร์สอดคล้องกับสมการปฏิกิริยาอันดับสองเทียม ผลการศึกษาเทอร์โมไดนามิกส์แสดงให้ห็นว่าการดูดชับป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน ส่วนที่ 2 ศึกษาการกำจัดสี MG ด้วยกระบวนการไฟโตแดตะไลซิส โดยการถ่ายรังสียูวีซีให้ตัวดูดซับที่อิ่มตัวด้วยสีย้อมแล้ว ที่ความเข้มแสง 2.752 mW/cm2 ความยาวคลื่น 254 nm เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่า ประสิทธิภาพการกำจัดสีย้อมเพิ่มขึ้น 16% เมื่อเทียบกับการดูดชับอย่างเดียว จากผลการทดลองชี้ให้ห็นว่า TiO2-MMt สามารถใช้เป็นตัวดูดซับและตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีศักยภาพในการกำจัดสี MG จากน้ำเสียen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแร่ดินมอนต์มอริลโลไนตen_US
dc.subjectวิเคราะห์โครงสร้างผลึกen_US
dc.subjectเทอร์โมไดนามิกส์en_US
dc.titleการดูดซับและกระบวนการโฟโตแคตะไลซิสของ ไทเทเนียมไดออกไซด์ตรึงบนแร่ดินมอนต์มอริลโลไนต์สำหรับ การกำจัดสีมาลาไคท์กรีนen_US
dc.title.alternativeAdsorption and Photocatalysis Process of Titanium Dioxide Immobilized Montmorillonite for Malachite Green Decolorizationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.