Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67375
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พลัฏฐ์กร ใจผ่องอัครกุล | en_US |
dc.contributor.author | นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.available | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 197-213 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/16.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67375 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตสีน้ำมัน (Enamel Paint) เพื่อลดสัดส่วนจำนวนรอบการปรับปรุงคุณภาพจากปัญหาการแห้งสัมผัสของสีเกินเวลาที่กำหนดโดยให้มีต้นทุนที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพต่ำที่สุดผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้เครื่องมือการปรับปรุงคุณภาพตามแนวทางชิกซ์ ชิกมาซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ระยะคือ 1) การนิยามปัญหา โดยระบุสภาพปัญหาในปัจจุบันที่จะปรับปรุง 2) การวัด โดยวิเคราะห์ความแม่นและความเที่ยงของระบบการตรวจสอบการแห้งสัมผัสของสี 3) การวิคราะห์หาสาเหตุของปัญหา โดยระดมสมองเพื่อระบุและคัดเลือกปัจจัยนำเข้าที่จะศึกษา ซึ่งพบว่าปัจจัยนำเข้าที่มีนัยสำคัญได้แก่ ระยะเวลาปั่นควบสีและปริมาณสารเร่งแห้งที่ใช้ 4) การปรับปรุงแก้ไขปัญหา โดยการใช้การทดสอบสมมติฐานทางสถิติแบบ Two Proportions Z-Test เพื่อหาเวลาในการปั่นกวนสีที่เหมาะสมและใช้การออกแบบการทดลองแบบพื้นผิวผลตอบชนิดส่วนประสมกลางเพื่อหาระดับที่เหมาะสมของปริมาณสารเร่งแห้งสามชนิด 5) การติดตามควบคุม โดยการทดสอบเพื่อยืนยันผลการปรับปรุงและกำหนดแผนควบคุม หลังการปรับปรุงพบว่า สัดส่วนจำนวนรอบการปรับปรุงคุณภาพปัญหาการแห้งสัมผัสของสีเกินเวลาที่กำหนดมากกว่า 1 รอบต่อรอบการผลิตลดลงจาก 72% เป็น 21% และสามารถประหยัดต้นทุนที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพได้ 171,084 บาทต่อปี | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สีน้ำมัน | en_US |
dc.subject | การแห้งสัมผัสของสี | en_US |
dc.subject | การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ | en_US |
dc.subject | การออกแบบการทดลองแบบส่วนประสมกลาง | en_US |
dc.title | การลดปัญหาการแห้งสัมผัสของสีน้ำมัน | en_US |
dc.title.alternative | Reduction of Touch Dry Problem of Enamel Paint | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.