Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรรณิภา พ่วงพัดen_US
dc.contributor.authorสมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 171-183en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/14.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67372-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความตรงกับอัตราส่วนแรงตัดที่เกิดขึ้นในขณะกลึงชิ้นงานอะลุมิเนียม โดยติดตั้งไดนาโมมิเตอร์บนชุดป้อมมีดของเครื่องกลึงซีเอ็นซีเพื่อวัดแรงตัดที่เกิดขึ้นในขณะตัดซึ่งความสัมพันธ์ของแรงตัด และความตรงของชิ้นงาน จะถูกทดสอบภายใต้เงื่อนไขการตัดต่างๆ ดังนี้คือ ความเร็วตัด อัตราป้อนตัด ความลึกตัด รัศมีจมูกมีด และอัตราส่วนแรงตัด จากการทดลองพบว่าเมื่อใช้ความเร็วตัดและรัศมีจมูกมีดตัดมากขึ้นจะทำให้ชิ้นงานมีดความตรงที่ดีขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างแรงตัด และความตรงพิจารณาได้จากสัญญาณความถี่ที่เกิดขึ้นในโดเมนความถี่ด้วยวิธีการแปลงฟูเรียร์อย่างเร็ว (Fast Fourer Transform) ซึ่งสัญญาณความถี่ได้เกิดขึ้นที่ค่าเดียวกันดังนั้นอัตราส่วนแรงตัดจึงสามารถนำมาใช้ในการทำนายความตรงของขึ้นงานได้ในขณะตัดได้ อัตราส่วนแรงตัดถูกนำมาใช้เพื่อทำนายความตรงของชิ้นงานในขณะกลึงด้วยสมการออกซ์โพเนนเชีล วิธีการวิคราะห์การถดถอยพหคูณถูกประยุกด์ใชัในการคำนวณหาสัมประสิทธิ์ของสมการที่ใช้ในการทำนายความตรงของชิ้นงานในขณะตัด ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จากสมการพบว่าอัตราป้อนตัดเป็นปัจจัยที่มีผลต่อค่าความตรงของชิ้นงานมากที่สุด รองลงมาก็คือรัศมีจมูกมีด ความลึกในการตัด ความเร็วตัด และอัตราส่วนแรงตัด ตามลำดับ และสมการที่พัฒนาขึ้นสามารถทำนายค่าความตรงเบี่ยงเบนศูนย์โดยมีระดับความแม่นยำเท่ากับ 89.13%en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectงานอะลูมิเนียมen_US
dc.subjectเครื่องกึงซีเอ็นซีen_US
dc.subjectรัศมีจมูกมีดen_US
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความตรงและแรงตัดในกระบวนการกลึงอะลูมิเนียมen_US
dc.title.alternativeA study of relation between straightness and cutting force in aluminium turningen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.