Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67371
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนันทชัย กานตานันทะen_US
dc.contributor.authorพันทิวา ชิตเครือen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:05Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 111-127en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/10.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67371-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้ประสิทธิภาพการจำหน่ายไฟฟ้าต่ำ คือ การที่มีสถานีไฟฟ้าไม่เพียงพอ ส่งผลให้ต้องส่งจ่ายกำลังไฟฟ้าผ่านสายส่งจำหน่ายที่มีระยะไกล เกิดความไม่เสถียรในระบบไฟฟ้าอยู่ป็นระยะๆ ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์ค่าไฟฟ้าที่สูญเสียไปในระบบ โดยการประมาณค่าความสูญเสียกำลังไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก คือ ค่าความสูญเสียกำลังไฟฟ้าเนื่องจากหม้อแปลงไฟฟ้ากำลังในสถานีไฟฟ้า โดยทำการประมาณค่าความสูญเสียในขณะที่ไม่มีโหลด ขณะที่มีโหลด และจากปัจจัยอื่นๆ ส่วนที่สอง คือ ค่าความสูญเสียกำลังไฟฟ้าเนื่องจากสายส่งจำหน่ายระดับแรงดันปานกลาง คำนวณโดยใช้หลักการการไหลของกำลังไฟฟ้าด้วยวิธี Newton-Raphson จากโปรแกรม MATLAB ที่พัฒนาขึ้น จากนั้นนำค่าความสูญเสียกำลังไฟฟ้าที่ประมาณได้ มาคำนวณเป็นค่าเงินตามเวลาที่ต้องมีการสร้างสถานีไฟฟ้าแห่งใหม่ ผลการวิจัยพบว่าค่าไฟฟ้าที่สูญเสียจะมีค่ามากขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีค่าสูญเสียกำลังไฟฟ้าต่อชั่วโมงเท่ากับ 497.18 กิโลวัตต์ คิดเป็นเงินเท่ากับ 2,542.35 บาทต่อชั่วโมง ค่าไฟฟ้าที่สูญเสียที่เกิดขึ้นนี้จะนำไปประกอบการพิจารณาการก่อสร้างสถานีไฟฟ้ากรณีศึกษาในเวลาที่เหมาะสมen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประสิทธิภาพการจำหน่ายไฟฟ้าen_US
dc.subjectระบบไฟฟ้าen_US
dc.subjectการไหลของกำลังไฟฟ้าen_US
dc.titleการวิเคราะห์ค่าไฟฟ้าที่สูญเสียในระบบจำหน่ายไฟฟ้าจากการก่อสร้างสถานีไฟฟ้าล่าช้าen_US
dc.title.alternativeCost of Electricity Loss Analysis in Distribution System from Delayed Substation Constructionen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.