Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67365
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อัครินทร์ อินทนิเวศน์ | en_US |
dc.contributor.author | สุลักษณา มงคล | en_US |
dc.contributor.author | สราวุธ พลวงษ์ศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.available | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 25-35 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/03.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67365 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | en_US |
dc.description.abstract | ในการเลี้ยงปลาของเกษตรกรในชุมชนทุ่งยาวมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องเติมอากาศสำหรับเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้เพียงพอต่อความต้องการของปลา ส่งผลให้เกษตรกรต้องจ่ายค่าไฟต่อเดือนในระดับที่สูง งานวิจัยนี้จึงได้ทำการศึกษาระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบจ่ายพลังงานร่วมระหว่างพลังงานไฟฟ้าจากระบบเซลล์แสงอาทิตย์ และระบบไฟฟ้าพื้นฐานโดยใช้อินเวอร์เตอร์เป็นอุปกรณ์ควบคุมปริมาณพลังงานไฟฟ้าจากแต่ละแหล่ง โดยในเวลากลางวันระบบเติมอากาศจะใช้พลังงานจากระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เป็นหลัก แต่ถ้าระบบผลิตไฟฟ้าได้ไม่เพียงพอ อินเวอร์เตอร์จะทำการดึงไฟฟ้จากระบบไฟฟ้าพื้นฐานมาเพิ่มเติมเพื่อให้มีกำลังไฟฟ้าอย่างเพียงพอสำหรับการทำงานของเครื่องเติมอากาศ จากการศึกษาพบว่าในวันที่ท้องฟ้าปิด (มีความเข้มแสงอาทิตย์เฉลี่ยต่ำกว่า 350 W/m2) ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากระบบแผงเซลล์แสงอาทิตย์มีสัดส่วนในการใช้งานเพียง 30.95% แต่ในวันที่ท้องฟ้าเปิด (ความเข้มแสงอาทิตย์เฉลี่ยมากกว่า 350 W/m2) ระบบแผงเซลล์แสงอาทิตย์สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าสำหรับทดแทนการใช้งานจากระบบไฟฟ้าพื้นฐานได้มากถึง 56.67% ตลอดระยะเวลาการทดสอบระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์มีประสิทธิภาพการแปลงแสงให้เป็นไฟฟ้าเฉลี่ยเท่ากับ 15% และมีสมรรถนะระบบเฉลี่ยเท่ากับ 96.6% จากการศึกษาพบว่าระบบการใช้พลังงานร่วมระหว่างพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ และระบบไฟฟ้าพื้นฐานสามารถลดภาระค่าไฟฟ้ของเกษตรกรได้เป็น อย่างมากโดยเฉพาะในวันที่มีแสงอาทิตย์ตกกระทบสูง | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ระบบใช้พลังงานร่วม | en_US |
dc.subject | ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ | en_US |
dc.subject | เครื่องเติมอากาศ | en_US |
dc.subject | สมรรถนะ | en_US |
dc.subject | ประสิทธิภาพ | en_US |
dc.title | การศึกษาสมรรถนะระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับระบบเติมอากาศของบ่อเลี้ยงปลา กรณีศึกษา:หมู่บ้านทุ่งยาว | en_US |
dc.title.alternative | Performance Study of Solar PV System for Fish Pond Aerators Case Study: Tungyao Village | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.