Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอาจินต์ ทองอยู่คงen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:04Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:04Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 28,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2559) 51-48en_US
dc.identifier.issn0125-4138en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/178034/126651en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67326-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractบทความนี้ว่าด้วยการบริโภคฟุตบอลของแฟนการท่าเรือ เอฟซี สโมสรฟุตบอลไทยที่ตั้งอยู่บริเวณเขตคลองเตย กรุงเทพฯ คลองเตยเป็นที่ตั้งของท่าเรือคลองเตย อุตสาหกรรมขนส่งทางน้ำขนาดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงชาวคลองเตยและกรุงเทพฯ และเป็นที่รู้จักในฐานะชุมชนแออัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย แฟนบอล สโมสรท่าเรือฯ จำนวนมากเป็นเพศชาย-ชนชั้นกลางระดับล่าง-วัยทำงานที่อาศัยอยู่ในเขตคลองเตย งานนี้เสนอว่าพวกเขาไม่ได้เพียง “ดู” การแข่งขันฟุตบอล แต่ในการเป็นแฟนบอลนั้นยังประกอบไปด้วยกิจกรรมอื่นอีกเป็นจำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการบริโภคฟุตบอลมีความหมายในฐานะตัวแทนของท้องถิ่นพื้นที่ของผู้ชาย, ชุมชนรูปแบบใหม่, และพื้นที่ในการสร้างอัตลักษณ์ สิ่งเหล่านี้ สามารถแสดงให้เห็นว่าการเกิดขึ้นมาของกระแสความนิยมฟุตบอลไทยนั้นก็เพราะมันเป็นการบริโภคที่เต็มไปด้วยบริบท เป็นการบริโภคเพื่อตอบสนองต่ออุปสงค์ทางสังคมของคนกลุ่มใหม่ที่เกิดขึ้นมาภายใต้ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ภาวะที่พื้นที่ของผู้ชายถูกเบียดขับให้หดแคบลง, ผู้คนที่ถูกผลักเข้าสู่ชีวิตสมัยใหม่ โหยหาความสัมพันธ์, ผู้คนเกิดสำนึกท้องถิ่นและศักยภาพในการนิยามอัตลักษณ์ของตนเอง สำหรับแฟนท่าเรือแล้ว ทั้งหมดนี้แสดงออกมาผ่านป้ายบนอัฒจันทร์ ที่ว่า “เขตปกครองพิเศษคลองเตย” ชุมชนในจินตนาการของแฟนท่าเรือ ที่แม้ไม่ได้มีอยู่จริงในโครงสร้างการปกครอง แต่ก็มีอยู่จริงในความรู้สึกของพวกเขาen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความเป็นถิ่นฐานen_US
dc.subjectความเป็นชายen_US
dc.subjectวัฒนธรรมแฟนen_US
dc.subjectการบริโภคen_US
dc.titleเขตปกครองพิเศษคลองเตย: ความเป็นย่าน ความเป็นชาย และการสร้างชุมชนใหม่ ผ่านการบริโภค ฟุตบอลของแฟนการท่าเรือ เอฟซีen_US
dc.title.alternative"Khlong Toei Special Administrative Area": Locality, Masculinity, and Production of New Community in Football Consumption of Port FC Fansen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.