Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกจันทร์ เขม้นการen_US
dc.contributor.authorสุวิชัย พรรษาen_US
dc.contributor.authorจิดาภา ผูกพันธ์en_US
dc.contributor.authorจิระวรรณ บุตรพูลen_US
dc.contributor.authorรรฤณ แสงแก้วen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:13Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:13Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 44, ฉบับพิเศษ (2) (ธ.ค. 2560), 71-80en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/169193/121718en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67271-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractผู้ปกครองของผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลต้องการข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องเผชิญเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สื่อที่มีความเฉพาะเจาะจง ครอบคลุม ทันสมัย เข้าใจง่าย สามารถทบทวนซ้ำได้ จะช่วยให้ผู้ปกครองมีความรู้และพึงพอใจ การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลของพยาบาลต่อความรู้และการรับรู้ถึงความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดูแลผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองจำนวน 70 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับการให้ข้อมูลผ่านโปรแกรมการให้ข้อมูล เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) สื่อ Motion infographic เรื่อง “เมื่อลูกรักต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล” 2) แบบสอบถามความรู้ของผู้ปกครองในการดูแลผู้ป่วยเด็ก 3) แบบสอบถามการรับรู้ถึงความพึงพอใจของปกครองในการดูแลเด็กของพยาบาล ผลการวิจัยพบว่าความรู้ของผู้ปกครองในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของกลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางทางสถิติ (t=-3.80, p<.01) และการรับรู้ความพึงพอใจในด้านการสื่อสารของกลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางทางสถิติ (t=-2.36, p<.05) โปรแกรมการให้ข้อมูลของพยาบาลสามารถนำไปใช้ได้ในสถานการณ์จริง โดยไม่จำกัดเวลา สถานที่ ตั้งแต่แรกรับการรักษาจนกลับไปดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโปรแกรมการให้ข้อมูลen_US
dc.subjectความรู้ของผู้ปกครองen_US
dc.subjectการรับรู้ถึงความพึงพอใจen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลของพยาบาล ต่อความรู้และการรับรู้ถึงความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดูแลผู้ป่วยเด็ก ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลen_US
dc.title.alternativeThe Effect of A Program of Nurses Providing Information to Parents’ Knowledge and Satisfaction on Caring for Hospitalized Childrenen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.