Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67260
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอลงกรณ์ สุขเรืองกูลen_US
dc.contributor.authorทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorประทับจิต บุญสร้อยen_US
dc.contributor.authorไพโรจน์ อุตศรีen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:13Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:13Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 44, ฉบับพิเศษ (2) (ธ.ค. 2560), 38-48en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/169023/121602en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67260-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractคนไทยจะถวายภัตราหารที่อร่อยแด่พระสงฆ์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรทและไขมันสูง ประกอบกับความเชื่อที่ว่าพระสงฆ์ต้องสำรวม ทำให้พระสงฆ์ไม่ค่อยออกกำลังกาย จึงยิ่งมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาสุขภาพเพิ่มมากขึ้น การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของการรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ในจังหวัดเชียงราย รวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ในพระสงฆ์จำนวน 359 รูป สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ 2) แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ 3) แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ในจังหวัดเชียงราย 4) แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ และ 5) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมของพระสงฆ์ เครื่องมือผ่านการทดสอบความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ได้ร้อยละ 38.70 (r = .622, p< .001) ผลการศึกษาครั้งนี้ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ และเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมหรือสร้างโปรแกรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพสำหรับพระสงฆ์ต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปัจจัยทำนายen_US
dc.subjectพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์en_US
dc.subjectพระสงฆ์en_US
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ในจังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeFactors Predicting Health Promoting Behaviors amongBuddhist Monks in Chiang Rai Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.