Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดวงเดือน บุดดาen_US
dc.contributor.authorศิวพร อึ้งวัฒนาen_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ บุญเชียงen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, ฉบับพิเศษ (ธ.ค. 2562), 36-48en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/232490/158877en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67223-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคถือเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการควบคุมระดับความดันโลหิตในกลุ่มผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ทั้งนี้การรับประทานอาหารควรมีความสอดคล้องกับบริบทแวดล้อมและวิถีชีวิตของผู้ที่เป็นโรคด้วย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบแผนการรับประทานอาหารสำหรับผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดควบคุมไม่ได้โดยใช้การมีส่วนร่วมของครอบครัว และศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แบบแผนฯในสภาพการณ์จริง ประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดควบคุมไม่ได้ 68 คน สมาชิกในครอบครัว 68 คน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนจำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ (1) เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามการรับประทานอาหารของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดควบคุมไม่ได้ 2) แบบสอบถามด้านการรับประทานอาหารของสมาชิกในครอบครัว 3) แบบสอบถามความเป็นไปได้ของการใช้แบบแผนฯ 4) แนวคำถามการสนทนากลุ่ม และ(2) เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย คือ แผนกิจกรรมสำหรับการประชุมระดมสมองเพื่อพัฒนาแบบแผนฯ นำแบบสอบถามมาหาค่าดัชนีความตรงของเนื้อหาได้เท่ากับ 0.927 0.99 และ 1.00 ตามลำดับ และตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามการรับประทานอาหาร โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.88 และ 0.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่าจากการมีส่วนร่วมในทุกด้านของครอบครัวทำให้ได้แบบแผนการรับประทานอาหารสำหรับผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดควบคุมไม่ได้ ที่มีชื่อแบบแผนว่า “กิ๋นหื้อดี กิ๋นหื้อลำ กิ๋นหื้อไกลโรคความดันโลหิตสูง” ที่มีสาระหลักของแผน 3 ประเด็น คือ “เพิ่มผัก” “ไม่หนักเค็ม” และ “กินพออิ่ม” และเมื่อนำแบบแผนฯที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในสภาพการณ์จริง พบว่าแบบแผนฯมีความเหมาะสมกับบริบทวิถีชีวิต และการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและสมาชิกครอบครัวในระดับปานกลาง ( x̄=2.50, S.D. = 0.62 และ x̄=2.47, S.D.= 0.61) และจากระยะประเมินได้ข้อเสนอแนะจากการใช้แบบแผนฯ ได้แก่ ควรมีการเพิ่มเติมรายละเอียดในแต่ละข้อของแบบแผนฯ เพื่อประโยชน์ต่อการประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการรณรงค์ให้เกิดการปฏิบัติตัวตามแบบแผนฯอย่างต่อเนื่องและการรณรงค์ต่อยอดในชุมชน รวมถึงควรมีการพัฒนาต่อยอดแบบแผนฯนี้ไปสู่การสร้างเมนูอาหารลดความดันโลหิตสูงที่สามารถทำได้ง่าย และใช้ผักในท้องถิ่นที่มีคุณสมบัติในการลดความดันโลหิตมาเป็นวัตถุดิบต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแบบแผนการรับประทานอาหารen_US
dc.subjectโรคความดันโลหิตสูงชนิดควบคุมไม่ได้en_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของครอบครัวen_US
dc.titleการพัฒนาแบบแผนการรับประทานอาหารสำหรับผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดควบคุมไม่ได้ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Eating Pattern for People with Uncontrolled Hypertension Using Family Participation Approachen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.