Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67221
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนเรศ วชิรพันธุ์สกุลen_US
dc.contributor.authorวันดี พินิจวรสินen_US
dc.contributor.authorอรศิริ ปาณินท์en_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 111-125en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/182269/160588en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67221-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractจากสถานการณ์ของประเทศไทยที่กำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การพัฒนาที่อยู่อาศัยร่วมกันในรูปแบบของโคเฮ้าส์ซิ่ง สำหรับส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เป็นแนวคิดหนึ่งซึ่งสามารถนำมาปรับใช้แต่การอยู่อาศัยในโครงการแบบโคเฮ้าส์ซิ่งยังประสบปัญหาเรื่องการจัดการพื้นที่ส่วนกลาง การขาดความเป็นส่วนตัวและการดูแลรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของพื้นที่ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกรณีศึกษาของชุมชนศรีโคตรบูรณ์อโศก จังหวัดนครพนม ซึ่งมีการจัดการพื้นที่ชุมชนตามแนวคิดแบบโคเฮ้าส์ซิ่ง โดยมีสมาชิกเป็นผู้สูงอายุ มีการอยู่อาศัยและทำกิจกรรมในพื้นที่ส่วนกลางร่วมกัน ภายใต้แนวคิดวิถีชีวิตแบบพอเพียง และหลักพุทธเศรษฐศาสตร์ ผลจากการศึกษาพบว่า ชุมชนมีลักษณะการวางผังชุมชนในระบบตารางและออกแบบให้อาคารมีการเกาะกลุ่ม ทำให้เกิดความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุในการสัญจรไปยังพื้นที่ต่างๆ การวางผังทำให้เกิดพื้นที่ระหว่างอาคารที่ถูกใช้เป็นพื้นที่อเนกประสงค์ที่ช่วยสนับสนุนกิจกรรมการผลิตของผู้สูงอายุ นอกจากนี้ ลักษณะบ้านเรือนและการจัดการพื้นที่ทำให้เกิดความสามารถในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้งานในแต่ละช่วงเวลาได้ ส่งผลให้เกิดความสมดุลระหว่างความเป็นสาธารณะกับความเป็นส่วนตัวและการดูแลรักษาพื้นที่ ในขณะเดียวกันยังสามารถสร้างความอุ่นใจ และความรู้สึกปลอดภัยให้แก่สมาชิกในชุมชนได้อีกด้วยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectการจัดการพื้นที่en_US
dc.subjectโคเฮ้าส์ซิ่งen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectชุมชนศรีโคตรบูรณ์อโศกen_US
dc.titleการจัดการพื้นที่ตามแนวทางโคเฮ้าส์ซิ่ง เพื่อผู้สูงอายุของชุมชนศรีโคตรบูรณ์อโศกen_US
dc.title.alternativeSpatial management following Co-housing concept for elderly of Sri Khotraboon Asoke communityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.