Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67218
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตราวดี รุ่งอินทร์ กันกาen_US
dc.contributor.authorปรีชญา ครูเกษตรen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 145-163en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/178648/160742en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67218-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและจำลองสถานการณ์เพื่อสนับสนุนงานบริหารจัดการด้านพลังงานในอาคารเรียน เพื่อหาแนวทางการลดความร้อนเข้าสู่กรอบอาคารให้เป็นไปตามกฎหมาย และเพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจแก่เจ้าของอาคารในการบริหารจัดการพลังงาน ขอบเขตการวิจัยคือ พื้นที่ใช้สอยในอาคารเรียนของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรม ISA’s OTTV52 สำหรับคำนวณค่าความร้อนผ่านกรอบอาคาร และโปรแกรม Google Sketch up เพื่อจำลองการออกแบบสภาพแวดล้อมอาคาร วิธีดำเนินการวิจัยโดยสำรวจรางวัดกายภาพอาคารและอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า บันทึกค่าอุณหภูมิและค่าความส่องสว่าง และใช้ช่วยจำลองการออกแบบและวิเคราะห์ผล ซึ่งผลวิจัยพบว่า อาคารเรียนมีค่าการใช้พลังงานไฟฟ้ารวม 349,542.12 กิโลวัตต์/ปี มีค่าความร้อนรวมผ่านกรอบอาคารสูงเกินค่ามาตรฐานมาก โดยเฉพาะในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ดังนั้นจึงเสนอให้ผนังอาคารเพิ่มช่องว่างอากาศ ติดฉนวนโฟมโพลีสไตรีนและกรุยิปซั่มบอร์ดแต่งผิวด้วยปูนยิปซั่ม เปลี่ยนฟิล์มกระจกหน้าต่าง ส่วนหลังคาเมทัลชีทเดิมเสนอให้ฉีดพ่นฉนวนโฟมสีขาวด้านบนเพื่อเป็นฉนวนและเพิ่มการสะท้อนความร้อน จึงส่งผลให้ค่าความร้อนรวมผ่านกรอบอาคารลดลงอย่างมาก ทั้งนี้ ได้จำลองรูปแบบการติดตั้งสวนไม้เลื้อยแนวตั้งในทิศที่ได้รับรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์โดยตรง ซึ่งแผงไม้เลื้อยมีพุ่มใบใหญ่หนา จะช่วยลดความร้อนเข้าสู่กรอบอาคาร ลดภาระการปรับอากาศและทำให้อุณหภูมิห้องอยู่ใกล้เขตสบายมากที่สุด เทคนิคธรรมชาตินี้เป็นการจัดการพลังงานในอาคารที่ยั่งยืน ต้นทุนต่ำ สร้างความร่มรื่นแก่อาคารสถานที่en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectกรอบอาคารen_US
dc.subjectค่าความร้อนรวมผ่านกรอบอาคารในส่วนผนังen_US
dc.subjectค่าความร้อนรวมผ่านกรอบอาคารในส่วนหลังคาen_US
dc.subjectเทคนิคธรรมชาติen_US
dc.titleการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและจำลองสถานการณ์เพื่อสนับสนุนงานบริหารจัดการด้านพลังงานในอาคารเรียนen_US
dc.title.alternativeUsing computer-aided design and simulation software to support energy management in school buildingsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.