Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67215
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวศิน วิเศษศักดิ์ดีen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 37-65en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/193791/160597en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67215-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ที่แสดงออกผ่าน อัตลักษณ์ที่อยู่อาศัยของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่า การศึกษาครั้งนี้นำกรอบแนวคิด ทฤษฎี เรื่องของความเป็นวัฒนธรรมย่อย โดยบทความนี้ได้นำเสนอเฉพาะกรอบการศึกษาตัวชี้วัด ด้านอัตลักษณ์ ที่แสดงผ่านลักษณะที่ปรากฏในที่อยู่อาศัย ผลการศึกษาได้ข้อค้นพบว่า ความเป็นวัฒนธรรมย่อยทางอาชีพของกลุ่มคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่า ได้ส่งอิทธิพลถึงรูปแบบของที่อยู่อาศัยโดยแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ที่แสดงความเป็นกลุ่มวัฒนธรรมย่อยที่แตกต่างจากลักษณะรูปแบบที่อยู่อาศัยของคนทั่วไปในสังคม นำเสนอผ่านประเด็นเรื่องของรูปแบบการปลูกสร้าง ลักษณะพื้นที่ภายในที่อยู่อาศัย รูปแบบวัสดุและการตกแต่งภายใน รูปแบบลักษณะเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในที่อยู่อาศัย อัตลักษณ์ที่อยู่อาศัยกลุ่มวัฒนธรรมย่อยคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่าจึงเหมือนผลรวมของปัจจัยทางวัฒนธรรมทางอาชีพ ที่เกิดเป็นภาพสะท้อนภายใต้ปัจจัยทางวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับรูปแบบของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectวัฒนธรรมย่อยen_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองen_US
dc.subjectอัตลักษณ์en_US
dc.subjectคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่าen_US
dc.subjectที่อยู่อาศัยen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมย่อยกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมือง: กรณีศึกษา อัตลักษณ์ที่อยู่อาศัยกลุ่มวัฒนธรรมย่อยคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่าen_US
dc.title.alternativeRelationship of subculture and urban vernacular architecture: case study of the dwelling identity of waste pickers and reusable waste carrier subcultureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.