Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรรถวิทย์ พิสิฐอนุสรณ์en_US
dc.contributor.authorพิมผกา อุ่นแก้วen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:32Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:32Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 37,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560) 129-143en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_1_407.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67202-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractผู้ป่วยชายสุขภาพแข็งแรงอายุ 62 ปีสูญเสียฟันจำนวนหลายซี่ทั้งในขากรรไกรบนและล่างมาขอรับการรักษาโดยการฟื้นฟูสภาพช่องปาก โดยเน้นการวางแผนการรักษาที่ให้ความสำคัญทั้งในด้านการบูรณะการใช้งานร่วมกับความสวยงาม ภายหลังการตรวจภายในช่องปากและการวางแผนการรักษา ทำการสร้างฟันเทียมเพื่อลองเพื่อใช้เป็นตัวกำหนดทางด้านความสวยงามและมิติแนวดิ่งที่จะบูรณะ นำภาพสแกนสามมิติของฟันและฟันเทียมเพื่อลองเข้าสู่โปรแกรมวางแผนจำลองฝังรากฟันเทียม ซึ่งจะสามารถสร้างตัวนำเจาะทางศัลยกรรมจากภาพสแกนชิ้นหล่อสามมิติ ภาพถ่ายรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์จะช่วยให้ทราบถึงข้อมูลความสัมพันธ์ของการบูรณะด้วยฟันเทียมและตำแหน่งของรากฟันเทียมที่ฝังอยู่ในกระดูกสันเหงือกผู้ป่วยรายนี้วางแผนฝังรากฟันเทียมจำนวน 7 ซี่เพื่อใช้รองรับฟันเทียมชนิดติดแน่นและฟันเทียมชนิดถอดได้ โดยในขั้นตอนทางศัลยกรรมนั้นใช้ตัวนำเจาะทางศัลยกรรมช่วยในการฝังรากฟันเทียม ซึ่งภาพถ่ายรังสีชนิดทั้งปากแสดงให้เห็นถึงตำแหน่งของรากฟันเทียม โดยจะมีความสัมพันธ์กับการบูรณะด้วยทั้งฟันเทียมชนิดติดแน่นและชนิดถอดได้ ประโยชน์ของการวางแผนการรักษาด้วยเทคโนโลยีเหล่านี้จะช่วยให้งานการรักษาในรูปแบบของการฟื้นฟูสภาพช่องปากเป็นไปได้ตามที่ได้วางแผนไว้และช่วยให้การทำการรักษามีความเรียบง่ายมากยิ่งขึ้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการฟื้นฟูสภาพช่องปากen_US
dc.subjectรากฟันเทียมen_US
dc.subjectรากฟัน เทียมคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectฟันเทียมบางส่วนถอดได้en_US
dc.titleบทบาทการรักษาด้วยทันตกรรมรากเทียมคอมพิวเตอร์ในการฟื้นฟูสภาพช่องปาก : รายงานผู้ป่วย 1 รายen_US
dc.title.alternativeComputer Guided Dental Implant Treatment Role in Oral Rehabilitation: A Case Reporten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.