Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเบญจพร มีหลีสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorธนกฤต อึ้งจิตรไพศาลen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 37,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560) 63-81en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_1_401.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67186-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการอนุรักษ์สันกระดูกขากรรไกรเป็นวิธีการเพื่อคงเค้ารูปสันกระดูกจากกรรไกรที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงหลังการถอนฟัน การถอนฟันเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บของกระดูกเบ้าฟันและเกิดการเปลี่ยนแปลงของสันกระดูกขากรรไกรจนอาจจะไม่สามารถฝังรากเทียมในตำแหน่งที่เหมาะสมได้ ลักษณะของแผลถอนฟันสามารถจำแนกได้หลายลักษณะ ในกรณีแผลถอนฟันที่มีระดับกระดูก น้อยเนื่องจากพยาธิสภาพไม่สามารถอนุรักษ์สันกระดูกขากรรไกรได้ต้องรอแผลหายและพิจารณาทำการเสริมสันกระดูกขากรรไกร การอนุรักษ์สันกระดูกขากรรไกรช่วยลดการสูญสลายของเนื้อเยื่ออ่อนและเนื้อเยื่อแข็งเมื่อเปรียบเทียบกับการถอนฟันและรอให้มีการหายของแผลตามปกติช่วยให้สันกระดูกขากรรไกรมีความหนาและความสูงเพียงพอที่ฝังรากเทียมในตำแหน่งที่เหมาะสม และช่วยลดระยะเวลาหรือกระบวนการผ่าตัดที่ซับซ้อนเพื่อเตรียมสันกระดูกก่อนการฝังรากเทียม การอนุรักษ์สันกระดูกขากรรไกรต้องอาศัยการถอนฟันแบบหลีกเลี่ยงการทำภยันตรายต่อกระดูก (atraumatic extraction) โดยการเลือกวัสดุปลูกถ่ายใส่ในเบ้าถอนฟันและการใช้เยื่อกั้น (membrane) ปกคลุมชนิดของวัสดุปลูกถ่ายและเยื่อกั้นมีหลายชนิดแตกต่างกัน ในแง่ระยะเวลาของการสูญสลาย มีคุณสมบัติของการสร้างกระดูก (osteogenesis) หรือการเหนี่ยวนำให้เกิดการสร้างกระดูก (osteoinductive) หรือการชักนำเนื้อเยื่อกระดูก (osteoconductive) ที่แตกกันen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการอนุรักษ์สันกระดูกขากรรไกรen_US
dc.subjectการถอนฟัน แบบหลีกเลี่ยงการทำภยันตรายต่อกระดูกen_US
dc.subjectรากเทียมen_US
dc.titleการอนุรักษ์สันกระดูกขากรรไกรสำหรับทันตกรรมรากเทียมen_US
dc.title.alternativeAlveolar Ridge Preservation for Dental Implanten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.