Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุภาณี หาญพัฒนะนุสรณ์en_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 67-87en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/209656/160302en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67181-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินสกุลบาทเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ โดยใช้แบบจำลองตามแนวคิดอำนาจซื้อเสมอเสมอภาคข้อมูลที่ใช้ป็นข้อมูลรายเดือน ตั้งแต่ เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 2010 มีนาคม ปี ค.ศ. 2019 วิธีการประมาณค่าทำสองวิธีคือ 1. ทำด้วยวิธี Auto Regressive Distributed Lag Model : ARDL หลังจากนั้นทำการทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาว (Cointegration Test) โดยการใช้ค่าสถิติ Bound Test และ 2.ประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธีโครงข่ายประสาทเทียม Artificial Neural Network : ANN ซึ่งเป็นแบบจำลองที่ไม่ใช่เชิงเส้นตรง ผลจากการประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธี ARDL พบว่าในระยะยาวเมื่อผลผลิตโดยเปรียบเทียบเพิ่มขึ้นจะทำให้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น 0.692%ผลจากการประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธีโครงข่ายประสาทเทียม ANN จะนำมาใช้ประเมินโดยพิจารณาว่าตัวแปรใดที่มีความสำคัญต่ออัตราแลกเปลี่ยนมากกว่าโดยเปรียบเทียบ การศึกษาพบว่าตัวแปรที่มีความสำคัญหรือมีอิทธิพลมากที่สุดโดยเปรียบเทียบต่ออัตราแลกเปลี่ยนสกุลบาทคือผลผลิตโดยเปรียบเทียบ ซี่งสอดคล้องกับผลการศึกษาจากวิธี ARDL และ เมื่อพิจารณาจากแบบจำลอง ANN กับแบบจำลองเชิงเส้นอย่างง่ายจากการประมาณค่าความคลาดเคลื่อน พบว่าแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมมีประสิทธิภาพในการประมาณค่าอัตราแลกเปลี่ยนได้ดีกว่าแบบจำลองเชิงเส้นตรงen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอัตราแลกเปลี่ยนen_US
dc.subjectแบบจำลองโครงข่ายประสามเทียมen_US
dc.subjectARDLen_US
dc.titleการวิเคราะห์อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทด้วยแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมen_US
dc.title.alternativeAn Analysis of Thai Baht Exchange Rate Using Artificial Neural NetworkModelen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.