Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกัลยาณี พรพิเนตพงศ์en_US
dc.contributor.authorจริยภัทร บุญมาen_US
dc.contributor.authorโสภิณ จิระเกียรติกุลen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2558), 27-64en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/61016/50264en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67180-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้ใช้การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทาง เศรษฐศาสตร์ เพื่อเปรียบเทียบทางเลือกเชิงนโยบายในการจัดการ ปัญหาการกัดเซาะชายหาด โดยสองแนวทางหลักที่เปรียบเทียบคือ หนึ่ง การป้องกันการกัดเซาะโดยใช้โครงสร้างแข็งรูปแบบต่างๆ และสอง การป้องกันและฟื้นฟูชายหาดด้วยวิธีที่สอดคล้องกับวัฏ จักรสมดุลของชายหาดและการใช้ประโยชน์หาดทรายจากการทาหน้าที่เป็นกันชนธรรมชาติ ร่วมกับการรื้อถอนโครงสร้างที่รบกวนระบบสมดุลทรายที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ออกไป โดยเป็น การวิเคราะห์ในช่วงเวลา 20 ปี (2557-2577) อัตราคิดลด 4.16% ผลการศึกษาพบว่า วิธีการตามทางเลือกที่สองมีประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์สูงกว่า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับประโยชน์สุทธิมากกว่าทางเลือกที่หนึ่ง (มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนสุทธิ หรือ NPV ของทางเลือกที่หนึ่งเท่ากับ -2,646 ล้านบาท ในขณะที่ทางเลือกที่สองเท่ากับ 37 ล้านบาท) นอกจากนี้ยังพบอีกว่า หากมีการรื้อถอนสิ่งแปลกปลอมที่เป็นสาเหตุการกัดเซาะออกไป จะ ทาให้มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนสุทธิเพิ่มสูงขึ้น (NPV เท่ากับ 214.7 ล้านบาท) จากข้อค้นพบนี้ การวิจัยได้เสนอให้การจัดการปัญหากัดเซาะชายหาด ควรมี ทิศทางป้องกันและฟื้นฟูหาดทรายด้วยวิธีที่สอดคล้องกับวัฏจักรสมดุลของชายหาดตาม ธรรมชาติ เพื่อผลต่อความสมดุลของระบบหาดตามธรรมชาติ สามารถใช้ประโยชน์หาด ทรายในการเป็นกันชนธรรมชาติซึ่งจะทาให้สังคมได้รับประโยชน์สูงสุดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหาดทรายen_US
dc.subjectปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ต้นทุนและประโยชน์en_US
dc.subjectนโยบายการจัดการปัญหากัดเซาะชายฝั่งen_US
dc.titleทางเลือกเชิงนโยบายในการจัดการปัญหาการกัดเซาะหาดทราย: การวิเคราะห์ต้นทุนและประโยชน์ของสังคมen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.